ตัวกรองผลการค้นหา
ประพฤติ
หมายถึง[ปฺระพฺรึด] น. ความเป็นไปอันเกี่ยวด้วยการกระทำหรือปฏิบัติตน, การทำตาม, เหตุต้นเค้า. ก. ทำตาม, ปฏิบัติ, เช่น ประพฤติธรรม; กระทำ, ดำเนินตน, ปฏิบัติตน, เช่น ประพฤติดี ประพฤติชั่ว. (ส. ปฺรวฺฤตฺติ; ป. ปวุตฺติ).
สุภาษิตไทย รู้ไว้ ไม่ล้าสมัย
คนโง่ได้ยศก็ไม่เกิดประโยชน์
คำราชาศัพท์ ที่ใช้กับ พระภิกษุสงฆ์
180 สํานวนสุภาษิต พร้อมความหมาย
แสดง
หมายถึง[สะแดง] ก. ชี้แจง, อธิบาย, บอกข้อความให้รู้, เช่น แสดงธรรม แสดงปาฐกถา, ทำให้ปรากฏออกมา เช่น แสดงตัว แสดงหลักฐาน; เล่น เช่น แสดงละคร แสดงภาพยนตร์. (ข. แสฺฎง).
เข้าเมืองตาหลิ่วต้องหลิ่วตาตาม
หมายถึง(สำ) ก. ประพฤติตนตามที่คนส่วนใหญ่ประพฤติกัน.
นอกรีต,นอกรีตนอกรอย
หมายถึงว. ไม่ประพฤติตามจารีตประเพณี.
ขัดขืน
หมายถึงก. ไม่ประพฤติตาม, ไม่ทำตาม.
ธรรมนิยม
หมายถึงน. ความประพฤติที่มีธรรมเป็นที่ตั้ง.
มิจฉาจริยา
หมายถึงน. การประพฤติผิด.
เข้าคอ
หมายถึงก. ประพฤติให้ถูกใจกันได้, มีความประพฤติถูกกัน, ไม่ขัดคอกัน.
จริยา
หมายถึง[จะ-] น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติ, ใช้ในคำสมาส เช่น ธรรมจริยา.
สัมมาจริยา
หมายถึงน. การประพฤติชอบ. (ป.).
ธรรมนิเวศ
หมายถึงน. การเข้าประพฤติธรรม, การเข้าศาสนา.
คดโกง
หมายถึงก. ประพฤติทุจริต, ไม่ซื่อตรง.