ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา จิตรกรรม, ศิลปะพื้นบ้าน
จิตร,จิตร,จิตร-,จิตร-
หมายถึง[จิด, จิดตฺระ-] น. การวาดเขียน, การระบายสี, ลวดลาย. ว. งดงาม, สดใส, ที่เขียนงดงาม. (ป., ส.).
การใช้ ร หัน(รร)
เลือดรักทระนง อ่านว่าอย่างไร
คำราชาศัพท์ที่พบในพิธีราชาภิเษก
คำไวพจน์ น้ำ | คำคล้าย น้ำ
วรรณ,วรรณ-,วรรณะ
หมายถึง[วันนะ-] น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคนออกเป็น ๔ วรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศูทร; หนังสือ เช่น วรรณกรรม วรรณคดี. (ส. วรฺณ; ป. วณฺณ).
จิตร,จิตร-,จิตร-
หมายถึง[จิดตฺระ-] น. เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์จิตรา เรียกว่า จิตรมาส คือ เดือน ๕ ตกในราวเดือนเมษายน. (ส. ไจตฺร; ป. จิตฺต).
หะแห้น
หมายถึง(วรรณ) ว. เสียงร้องของสัตว์ดังเช่นนั้น.
จิตร
หมายถึง[จิด] (โบ) น. จิต, ใจ.
เลอภพ
หมายถึง(วรรณ) น. ผู้ปกครองภพ.
เลอสรวง
หมายถึง(วรรณ) น. ผู้ครองสวรรค์.
เลอหล้า
หมายถึง(วรรณ) น. ผู้ครองโลก.
รณ,รณ-
หมายถึง[รน, รนนะ-] น. เสียง, เสียงดัง; สงคราม. ก. รบ, รบศึก. (ป., ส.).
วร
หมายถึง[วะระ-, วอระ-] น. พร; ของขวัญ. ว. ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, เลิศ. (ป., ส.).
วร-
เลอลบ
หมายถึง(วรรณ) น. ผู้มีอำนาจเหนือผู้อื่น.