ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา ทางสายกลาง, สัมมาอาชีวะ, อัษฎางคิกมรรค, มรรค-, มรรค, มรรคา, สัมมา, สัมมาชีพ
สัมมา
หมายถึงว. ชอบ, ดี, (มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส) เช่น สัมมาทิฐิ สัมมาชีพ. (ป.; ส. สมฺยกฺ).
อักษรย่อของอาชีพและตำแหน่งต่าง ๆ
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด พิเศษสำหรับบุคคลทั่วไป
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด ศรัทธา
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด กรรม
สัมมาคารวะ
หมายถึงน. ความเคารพนบนอบ เช่น พูดกับผู้ใหญ่ต้องมีสัมมาคารวะ.
สัมมาชีพ
หมายถึงน. อาชีพที่สุจริต, อาชีพที่ชอบธรรม, เช่น การทำไร่ทำนานับว่าเป็นสัมมาชีพอย่างหนึ่ง. (ป. สัมมา + อาชีว).
หมอตำแย
หมายถึงน. หญิงที่มีอาชีพทำคลอดตามแผนโบราณ.
สร้างฐานะ
หมายถึงก. ประกอบอาชีพจนมีทรัพย์สินเป็นหลักฐานมั่นคง.
จารี
หมายถึงน. ผู้ประพฤติ, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ธรรมจารี สัมมาจารี. (ป.).
ทุบหม้อข้าว
หมายถึง(สำ) ก. ตัดอาชีพ, ทำลายหนทางทำมาหากิน.
เกินเลย
หมายถึงก. แสดงกิริยาวาจาต่อผู้อื่นโดยขาดสัมมาคารวะ, เหลื่อมลํ้าทางจำนวน.
ผีเสื้อราตรี
หมายถึง(ปาก) น. เรียกผู้หญิงที่มีอาชีพให้บริการในสถานบันเทิงในเวลากลางคืน.
อาชีพ,อาชีว,อาชีว-,อาชีวะ
หมายถึงน. การเลี้ยงชีวิต, การทำมาหากิน; งานที่ทำเป็นประจำเพื่อเลี้ยงชีพ. (ป., ส.).
พื้นเพ
หมายถึงน. หลักแหล่ง เช่น พื้นเพเป็นคนนครปฐม, อาชีพของวงศ์ตระกูล เช่น พื้นเพเป็นพ่อค้า.
วงการ
หมายถึงน. กลุ่มบุคคลที่มีอาชีพหรือความสนใจอย่างเดียวหรือในแนวเดียวกัน เช่น วงการธุรกิจ วงการบันเทิง วงการครู.