ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา ตัณหา, สามหมุด, มุข,มุข-, หัวหน้า, อธิบดี, มีดโกน, มีดตอก, มีดแป๊ะกั๊ก, กอย, ขวาน, จ่า
หนา
หมายถึงคำประกอบท้ายคำอื่นที่มีความหมายไปในเชิงบังคับหรืออ้อนวอน เช่น อยู่เถิดหนา.
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด สร้างตัว
คำควบกล้ำไม่แท้ 40 คำ
คำที่มีตัวการันต์
Silent letter (พยัญชนะไม่ออกเสียง)
หมายถึงน. ส่วนสูงมากจากผิวพื้น. ว. มีส่วนสูงมากจากผิวพื้น; แน่นทึบ, มาก, ตรงข้ามกับ บาง.
สิ่วน่อง
หมายถึงน. สิ่วชนิดหนึ่งตัวหนาเป็นสี่เหลี่ยม มีคม.
เตอะ
หมายถึงว. มาก, ใช้ประกอบกับคำ หนา เป็น หนาเตอะ.
ตัว
หมายถึงน. รูป, ตน, ตนเอง, คำใช้เรียกแทนคน สัตว์ และสิ่งของบางอย่าง เช่น ตัวละคร ตัวหนังสือ; ลักษณนามใช้เรียกสัตว์และสิ่งของบางอย่าง เช่น ม้า ๕ ตัว ตะปู ๓ ตัว เสื้อ ๒ ตัว; ใช้เรียกผู้ที่ตนพูดด้วยในฐานะคนเสมอกันที่สนิทกัน เช่น ตัวจะไปไหม.
ต่อตัว
หมายถึงก. อาการที่คนหนึ่งขึ้นไปยืนบนบ่าของอีกคนหนึ่ง เช่น ต่อตัวปีนกำแพง. น. ชื่อการแสดงกายกรรมแบบหนึ่งที่ผู้แสดงคนหนึ่งหรือหลายคนขึ้นไปยืนเลี้ยงตัวบนตัวของผู้แสดงอีกคนหนึ่งซึ่งเป็นหลักเป็นต้น.
หมายถึง(คณิต) น. เรียกเลขในวิธีทำว่า ตัว เช่น ตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ ตัวหาร.
เป็นตัว
หมายถึงว. เรียกข้าวสารเมล็ดงามไม่ค่อยหักว่า ข้าวเป็นตัว, เรียกข้าวสวยหรือข้าวต้มที่ยังคงรูปเป็นเมล็ดอยู่ว่า ข้าวสวยเป็นตัว ข้าวต้มเป็นตัว; ข้าวสารหรือเมล็ดถั่วเป็นต้นที่เก็บไว้นาน ๆ จนมีตัวมอดว่า ข้าวเป็นตัว ถั่วเป็นตัว. ก. มีชีวิตอยู่ เช่น จะจากเจ้าเหมือนดังว่าวขาดลมลอย อย่าหมายคอยเลยว่าเมียจะเป็นตัว. (ขุนช้างขุนแผน).
เบอะ
หมายถึงว. เป็นแผลเหวอะหวะเข้าไป เช่น แผลเบอะ, ใช้ประกอบคำ หนา เป็น หนาเบอะ เช่น ปากหนาเบอะ หมายความว่า ปากหนามาก, ใช้ประกอบคำ เหลือ เป็น เหลือเบอะ คือ เหลือมาก.
สันทะ
หมายถึงว. หนาทึบ. (ป.; ส. สานฺทฺร).
ทะนงตัว
หมายถึงก. ถือดีในตัวของตัว.
ห
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๔๑ อยู่ในพวกอักษรสูง เช่น หา เห็นใช้นำอักษรตํ่าที่เป็นอักษรเดี่ยวให้มีเสียงสูงและไม่ออกเสียงตัว ห เช่น หงอย หนา.