ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา กิจวัตร, พรต
วัตร,วัตร-
หมายถึง[วัด, วัดตฺระ-] น. กิจพึงกระทำ เช่น ทำวัตรเช้า ทำวัตรเย็น, หน้าที่ เช่น ข้อวัตรปฏิบัติ, ธรรมเนียม เช่น ศีลาจารวัตร; ความประพฤติ เช่น พระราชจริยวัตร, การปฏิบัติ เช่น ธุดงควัตร อุปัชฌายวัตร, การจำศีล. (ป. วตฺต; ส. วฺฤตฺต).
สุภาษิตไทยเกี่ยวกับการเมือง
พิธีราชาภิเษก
คำราชาศัพท์ที่พบในพิธีราชาภิเษก
ณ
หมายถึง[นะ] บ. ใน, ที่, เป็นคำบ่งเวลาหรือสถานที่ว่า ตรงนั้นตรงนี้, ถ้าใช้นำหน้าสกุล หมายความว่า แห่ง เช่น ณ อยุธยา ณ ระนอง.
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๑๙ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น คุณ บัณฑิต.
จิ
หมายถึง(แบบ) ก. จะ เช่น จิปากทั้งลิ้นล้า เพื่อเจ้าเจียรจันทร์. (ทวาทศมาส).
วารณ,วารณ-
หมายถึง[วาระนะ-] น. ช้าง. (ป., ส.).
สาณ,สาณ-
หมายถึง[สานะ-] น. ผ้าหยาบ, ผ้าป่าน. (ป.; ส. ศาณ).
กัลยาณ,กัลยาณ-
หมายถึง[กันละยานะ-] ว. งาม, ดี, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น กัลยาณคุณ = คุณอันงาม กัลยาณธรรม = ธรรมอันดี กัลยาณมิตร = มิตรดี. (ป., ส.).
จิร,จิร-
หมายถึง[-ระ-] ว. นาน, ช้า. (ป., ส.).
บูรณ,บูรณ-,บูรณ์
หมายถึง[บูระนะ-, บูน] ว. เต็ม. (ป., ส. ปูรณ).
จินต
หมายถึง[จินตะ-] ก. คิด. (ป., ส.).
จินต-
สรณ,สรณ-,สรณะ
หมายถึง[สะระนะ-] น. ที่พึ่ง, ที่ระลึก; ความระลึก. (ป.; ส. ศรณ).