ตัวกรองผลการค้นหา
สฤษฎิ,สฤษฎี,สฤษฏ์
หมายถึง[สะหฺริดสะ-, สะหฺริด] น. การทำ, การสร้าง, ใช้ว่า สฤษดิ์ ก็มี. (ส.).
กริยา 3 ช่อง จำได้แม่น! รวมกฎและข้อยกเว้น
"ปรากฏ" กับ "ปรากฎ" คำไหนที่ถูกต้อง
รัษฎากร
หมายถึง[รัดสะ-] น. รายได้ของแผ่นดิน; (กฎ) ภาษีอากรประเภทต่าง ๆ ที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากร. (เพี้ยนมาจาก ส. ราษฺฏฺร + อากร หมายความว่า อากรของประเทศ).
หฤษฎ์
หมายถึง[หะริด] ว. น่าชื่นชม, ยินดี; สนุก, สบาย, ดีใจ. (ส. หฺฤษฺฏ; ป. หฏฺ).
ธุวยัษฎี
หมายถึงน. เพลา (หรือเส้น) แห่งขั้วโลกทั้ง ๒. (ส. ธฺรุวยษฺฏี).
บวรโตฎก
หมายถึง[บอวอระโตดก] น. ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง.
มธุปฎล
หมายถึง[-ปะดน] น. รวงผึ้ง. (ป., ส. มธุปฏล).
กฎเกณฑ์
หมายถึงน. ข้อกำหนดที่วางไว้เป็นหลัก, หลักเกณฑ์.
กฎเสนาบดี
หมายถึง(เลิก) ดู กฎกระทรวง
กฎหมายเหตุ
หมายถึงน. จดหมายเหตุ. (พงศ. ประเสริฐ); (กฎ; โบ) กฎเกณฑ์การปฏิบัติที่ตราขึ้นหรือเนื่องจากประเพณีซึ่งมีค่าบังคับ.
กฎหมายอาญา
หมายถึง(กฎ) น. กฎหมายที่กำหนดลักษณะของการกระทำที่ถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับความผิดนั้น. (อ. criminal law).
กฎหมายเอกชน
หมายถึง(กฎ) น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างเอกชนหรือระหว่างเอกชนกับรัฐ ในฐานะที่รัฐดำเนินการอย่างเอกชนเกี่ยวกับสถานภาพของบุคคลตามกฎหมาย สิทธิและหน้าที่ของเอกชน รวมทั้งวางระเบียบเกี่ยวกับทรัพย์สินของเอกชน เช่น กฎหมายแพ่ง กฎหมายพาณิชย์. (อ. private law).
กฎแห่งกรรม
หมายถึงน. กฎว่าด้วยกรรมและผลแห่งกรรมที่ผู้กระทำจักต้องได้รับ.