ตัวกรองผลการค้นหา
หน
หมายถึงน. ทาง, ทิศ, เช่น หนเหนือ หนใต้; ครั้ง, คราว, เช่น กี่หน; ที่, สถานที่, เช่น ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด. (นิราศอิเหนา), มักใช้เข้าคู่กับคำ แห่ง เป็น แห่งหน เช่น ไม่รู้ว่าเวลานี้เขาอยู่แห่งหนตำบลใด.
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2)
ภาษาบาลี-สันกฤต
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก
สก,สก-,สก-
หมายถึง[สะกะ-] ว. ของตน. (ป.; ส. สฺวก).
รู้หนเหนือหนใต้
หมายถึงก. รู้ทิศทาง, รู้จักหนทาง, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เดี๋ยวนี้บ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไปมากแล้วไม่รู้หนเหนือหนใต้, โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้เรื่อง เช่น ทำงานใหม่ ๆ ไม่รู้หนเหนือหนใต้, รู้เหนือรู้ใต้ ก็ว่า.
วันพระไม่มีหนเดียว
หมายถึง(สำ) น. วันหน้ายังมีโอกาสอีก (มักใช้พูดเป็นเชิงอาฆาต).
กระโดดโลดเต้น
หมายถึงก. อาการที่กระโดดขึ้นลงหลายครั้งหลายหนเพราะความดีอกดีใจเป็นต้น.
สก
หมายถึงน. ผม. (ข. สก่).
หมายถึง(โบ) ก. สะเด็ดนํ้า เช่น เอาข้าวที่ซาวนํ้าแล้วใส่ในตะแกรงเพื่อให้นํ้าแห้ง เรียกว่า สก.
ทุกหัวระแหง
หมายถึงว. ทุกแห่งหน.
ประศม
หมายถึงก. สงบ. (ส.).
ลัภ
หมายถึงก. ได้. (ป., ส.).
พิจล
หมายถึงก. หวั่นไหว. (ส.).
ครา
หมายถึง[คฺรา] น. ครั้ง, คราว, หน.