ตัวกรองผลการค้นหา
กาญจน,กาญจน-,กาญจนา
หมายถึง[กานจะนะ-] (แบบ) น. ทอง. (ส.; ป. กญฺจน).
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2)
ภาษาบาลี-สันกฤต
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก
สิญจ,สิญจ-,สิญจน์
หมายถึง[สินจะ-, สิน] ก. รดนํ้า; รดนํ้ามนต์, สรงมุรธาภิเษก. (ป., ส.).
ญ
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๑๓ นับเป็นพวกอักษรตํ่า และเป็นตัวที่สุดของวรรคที่ ๒ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ปัญญา สัญชาติ ผจญ โคโลญ.
สุญ,สุญ-,สุญญ,สุญญ-
หมายถึง[สุน, สุนยะ-] ว. ว่างเปล่า. (ป. สุญฺ; ส. ศูนฺย).
สก,สก-,สก-
หมายถึง[สะกะ-] ว. ของตน. (ป.; ส. สฺวก).
มุญชะ
หมายถึง[มุนชะ] น. พืชจำพวกหญ้าปล้อง; ปลาค้าว. (ป., ส.).
กริตย,กริตย-
หมายถึง[กฺริดตะยะ-] (โบ; กลอน) ก. ทำ เช่น พระบาทสญไชยก็ชำระกริตยภิษิตสรรพางค์. (ม. คำหลวง มหาราช). (ส. กฺฤตฺย).
สก
หมายถึงน. ผม. (ข. สก่).
หมายถึง(โบ) ก. สะเด็ดนํ้า เช่น เอาข้าวที่ซาวนํ้าแล้วใส่ในตะแกรงเพื่อให้นํ้าแห้ง เรียกว่า สก.
ธัญ,ธัญ,ธัญญ
หมายถึง[ทัน, ทันยะ-] น. ข้าวเปลือก. (ป. ธญฺ; ส. ธานฺย).
ประศม
หมายถึงก. สงบ. (ส.).
ลัภ
หมายถึงก. ได้. (ป., ส.).