ตัวกรองผลการค้นหา
ม
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม.
ปวช. ย่อมาจากอะไร มีสาขาอะไร และเรียนต่ออะไรบ้าง
คู่คอง - ก้อง ห้วยไร่ | Ost.นาคี - แปลเพลง
คำไวพจน์: วัว - คำไวพจน์ของ วัว พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้
คำไวพจน์: ควาย - คำไวพจน์ของ ควาย พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้
ง
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๗ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กง.
กระแซง
หมายถึงน. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ปลายสายทั้ง ๒ ข้างผูกกับสายสำอางคร่อมอยู่ทางท้ายสันหลังช้าง สำหรับควาญช้างจับเมื่อเวลาคับขัน, กระแอก หรือ ประแอก ก็เรียก.
จะแคง
หมายถึง(ถิ่น) ว. ตะแคง. (ดู จระแคง).
พรรคานต์
หมายถึง[พักคาน] น. ตัวอักษรที่สุดวรรค คือ ง ญ ณ น ม.
นั่นซี,นั่นนะซี
หมายถึงคำแสดงการเห็นพ้องด้วย.
กุดา
หมายถึง(แบบ) ใช้เป็นสร้อยคำของ กุฎี เช่น สู่กุฎีกุดาสวรรค์. (ม. คำหลวง มัทรี).
กระเฉง,-กระเฉง
หมายถึงใช้เข้าคู่กับคำ กระฉับ เป็น กระฉับกระเฉง.
โตง ๆ เตง ๆ
หมายถึงว. กะโตงกะเตง.
ตระหง่อง,ตระหน่อง
หมายถึง[ตฺระ-] (โบ; กลอน) ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตาเรียมตระหง่องตั้ง ตาเรือ แม่ฮา. (ทวาทศมาส), เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล. (ม. คำหลวง กุมาร), กระหง่อง หรือ กระหน่อง ก็ใช้.
ผ่าง ๆ
หมายถึงว. เสียงดังเช่นนั้น.
โทง ๆ
หมายถึงว. อาการที่เดินหรือวิ่งโย่ง ๆ ไปในที่โล่ง (มักใช้แก่ผู้เปลือยกาย) เช่น เด็กแก้ผ้าวิ่งโทง ๆ.