ตัวกรองผลการค้นหา
ธัญ,ธัญ,ธัญญ
หมายถึง[ทัน, ทันยะ-] น. ข้าวเปลือก. (ป. ธญฺ; ส. ธานฺย).
มัย
หมายถึงน. ม้า, ลา, อูฐ. (ป., ส. มย).
หมายถึงว. สำเร็จด้วย, แล้วด้วย, ประกอบด้วย, (ใช้ประกอบท้ายสมาส เช่น มโนมัย ว่า สำเร็จด้วยใจ, กุศลมัย ว่า แล้วด้วยกุศล, ตฤณมัย ว่า ประกอบด้วยหญ้า). (ป., ส. มย).
ธัญ
หมายถึง[ทัน] (แบบ) ว. รุ่งเรือง, มั่งมี, มีโชค, ดี, เลิศ, เช่น ธัญลักษณ์ ว่า มีลักษณะดี. (ป. ธญฺ; ส. ธนฺย).
ญ
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๑๓ นับเป็นพวกอักษรตํ่า และเป็นตัวที่สุดของวรรคที่ ๒ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ปัญญา สัญชาติ ผจญ โคโลญ.
สุญ,สุญ-,สุญญ,สุญญ-
หมายถึง[สุน, สุนยะ-] ว. ว่างเปล่า. (ป. สุญฺ; ส. ศูนฺย).
มิญช,มิญช-
หมายถึง[มินชะ-] น. เยื่อ, แก่นหรือเมล็ด. (ป.).
สิญจ,สิญจ-,สิญจน์
หมายถึง[สินจะ-, สิน] ก. รดนํ้า; รดนํ้ามนต์, สรงมุรธาภิเษก. (ป., ส.).
ถัณฑิล,ถัณฑิลญ
หมายถึง[ถันทิน, ถันทินละ-] (แบบ) น. แผ่นดิน. (ป.).
มุญชะ
หมายถึง[มุนชะ] น. พืชจำพวกหญ้าปล้อง; ปลาค้าว. (ป., ส.).
กาญจน,กาญจน-,กาญจนา
หมายถึง[กานจะนะ-] (แบบ) น. ทอง. (ส.; ป. กญฺจน).
ทิฏฐุชุกรรม
หมายถึง(แบบ) น. การทำความเห็นให้ตรง คือ เห็นถูกทาง เช่น เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว (เป็นข้อหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุกรรม). (ป. ทิฏฺฐุชุกมฺม).