ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา สมุก, กะต่า, ตรีปิฎก, ปิฎก, กวย, ตะกร้า, กร้อ, สะบะ, กระตร้อ, ตะกร้อ
ร้า
หมายถึง(กลอน) ก. ร่า, ร่าเริง, เช่น ชาวที่ร้าเปิดทวาร. (นิทราชาคริต).
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2)
ภาษาบาลี-สันกฤต
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก
หมายถึง(กลอน) ก. รา, วางมือ, เช่น ใช่จักร้าโดยง่าย. (นิทราชาคริต).
หมายถึง(กลอน) ก. ดึง, ทึ้ง, เช่น เขาก็ร้าตัวเข้ากรง. (นิทราชาคริต); รบ.
หมายถึงน. ชื่อนกชนิดหนึ่ง รูปคล้ายนกยาง, มักเรียกกันว่า อีร้า. (พจน. ๒๔๙๓).
หมายถึงน. ชื่ออาหารชนิดหนึ่งทำด้วยปลาหมักเกลือ เรียกว่า ปลาร้า; เรียกหญิงที่จัดจ้านว่า แม่ร้า.
ตระ
หมายถึง[ตฺระ] น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
หมายถึง[ตฺระ] น. แถบ, แปลง, (ใช้แก่ที่).
ปากปลาร้า
หมายถึง(สำ) ว. ชอบพูดคำหยาบ.
ภาตระ
หมายถึง[พาตะระ] น. พี่ชายน้องชาย. (ส. ภฺราตฺฤ).
ตระหง่อง,ตระหน่อง
หมายถึง[ตฺระ-] (โบ; กลอน) ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตาเรียมตระหง่องตั้ง ตาเรือ แม่ฮา. (ทวาทศมาส), เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล. (ม. คำหลวง กุมาร), กระหง่อง หรือ กระหน่อง ก็ใช้.
ตระง่อง
หมายถึง[ตฺระ-] ก. จ้อง, คอยดู, (โบ) ในบทร้อยกรองใช้ว่า กระหง่อง กระหน่อง ตระหง่อง หรือ ตระหน่อง ก็มี.
กระอึก
หมายถึง(กลอน) ก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง. (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน).