ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา จิตระ,จิตรา, จินต์, จินต, จินต-, มินตรา, จันทนา, จินเจา, จินตภาพ, ภาพลักษณ์, อจินตา, จันทน์ขาว
จินต
หมายถึง[จินตะ-] ก. คิด. (ป., ส.).
คำไวพจน์: ปลา - คำไวพจน์ของ ปลา พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้
จินต-
จินตนิยม
หมายถึงน. (ปรัชญา) ขบวนการในประวัติศาสตร์ของปรัชญาและศิลปะที่เน้นการเป็นตัวของตัวเอง เป็นอิสระจากกฎเกณฑ์และระเบียบการที่ยึดถือกันมา นักปรัชญาและศิลปินของขบวนการนี้ถือว่าอารมณ์ ความรู้สึกสำคัญกว่าเหตุผล; (ศิลปะและวรรณคดี) คตินิยมในการสร้างสรรค์วรรณกรรมหรือศิลปะซึ่งแสดงให้เห็นชีวิตและโลกตามจินตนาการหรือมโนภาพ. (อ. romanticism).
สามนต,สามนต-,สามนต์
หมายถึง[สามนตะ-] ว. รอบ ๆ, ใกล้เคียง. (ป.).
จิ
หมายถึง(แบบ) ก. จะ เช่น จิปากทั้งลิ้นล้า เพื่อเจ้าเจียรจันทร์. (ทวาทศมาส).
วินตกะ
หมายถึง[วินตะกะ] น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๖ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. (ป., ส. วินตก). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์).
นา
หมายถึง(โบ; เลิก) น. ตำแหน่งเจ้ากระทรวงปกครองครั้งโบราณ มีหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง จัดหาและรักษาเสบียงอาหารสำหรับพระนคร ดูแลทุกข์สุขของชาวไร่ชาวนา.
หมายถึงน. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นนํ้าเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ นากุ้ง นาผักกระเฉด, ใช้ประกอบกับคำอื่นที่เกิดหรือเกี่ยวข้องกับนา เช่น เต่านา ปูนา.
หมายถึง(แบบ) คำบทบูรณ์ มักใช้ประกอบท้ายคำบทร้อยกรองให้มีความกระชับหรือสละสลวยขึ้น เช่น แลนา.
นาคานตกะ
หมายถึงครุฑ, ผู้เป็นศัตรูแห่งนาค
จิร,จิร-
หมายถึง[-ระ-] ว. นาน, ช้า. (ป., ส.).
ลงนา
หมายถึงก. เริ่มทำนา, ยกออกจากบ้านไปอยู่นาเพื่อทำนา.