ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา วิธี, คดี, ทุ, คติ, กรรมคติ, อัสดงคต, คต,-คต, สวรรคต
คต,-คต
หมายถึง[-คะตะ, -คด] ก. ถึงแล้ว, ไปแล้ว, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ตถาคต สุคต สวรรคต ทิวงคต. (ป.).
คำไวพจน์: ช้าง - คำไวพจน์ของ ช้าง พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้
"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท
คำไวพจน์: ปลา - คำไวพจน์ของ ปลา พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง
ต
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต.
ค
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๔ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค.
อันต,อันต-,อันต-
หมายถึง[อันตะ-] น. เขต, แดน; ปลายทาง, ที่จบ, อวสาน, ที่สุด; ความตาย, ความเสื่อมสิ้น. (ป., ส.).
สิต,สิต-
หมายถึง[-ตะ-] ว. ขาว. (ป., ส.).
วีต,วีต-
หมายถึง[วีตะ-] ว. ไปแล้ว, หมดแล้ว, ปราศจาก, มักใช้ประกอบหน้าศัพท์อื่น เช่น วีตราคะ ว่า หมดราคะ วีตโลภะ ว่า หมดความโลภ. (ป., ส.).
มิต,มิต-
หมายถึง[-ตะ-] ว. พอประมาณ, น้อย. (ป.).
สีต,สีต-
หมายถึง[-ตะ-] ว. เย็น, หนาว. (ป.).
ตจ,ตจ-
หมายถึง[ตะจะ-] น. หนัง, เปลือกไม้. (ป.).
ตติย,ตติย-
หมายถึง[ตะติยะ-] ว. ที่ ๓, คำรบ ๓, มักใช้ประกอบหน้าคำอื่น เช่น ตติยวาร. (ป.).
เสต,เสต-
หมายถึง[-ตะ-] (แบบ) ว. เศวต, สีขาว. (ป.; ส. เศฺวต).
ปลวังค,ปลวังค-
หมายถึง[ปะละวังคะ-] (แบบ) น. ลิง เช่น ปลวังคสังวัจฉร. (ส. ปฺลวงฺค).