ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา ปรนัย, นิตินัย, จิตวิสัย, อัตนัย, พฤตินัย, ตนัย, กริตย,กริตย-, กฤตย,กฤตย-
ฤต
หมายถึง[รึด] น. กฎ, วินัย, (เช่นในพระศาสนา); ธรรมเนียม, ความจริง, ความชอบธรรม. (ส.).
ภาษาบาลี-สันกฤต
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2)
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก
นัย
หมายถึง[ไน, ไนยะ] น. ข้อสำคัญ เช่น นัยแห่งเรื่องนี้; ความ, ความหมาย, เช่น หลายนัย; แนว, ทาง, เช่น ตีความได้หลายนัย; แง่ เช่น อีกนัยหนึ่ง. (ป. นย).
พูดเป็นนัย
หมายถึง(สำ) ก. พูดอ้อม ๆ โดยไม่บอกเรื่องราวตรง ๆ.
เลศนัย
หมายถึง[เลดไน] น. การพูดหรือแสดงอาการเป็นชั้นเชิงให้รู้ในที เช่น พูดเป็นเลศนัย ขยิบตาให้รู้เป็นเลศนัยว่าให้หยุดพูด.
อัพยากฤต
หมายถึง[อับพะยากฺริด] น. กลาง ๆ ระหว่างกุศลกับอกุศล คือไม่จัดเป็นกุศลหรืออกุศล ในความว่า ธรรมที่เป็นอัพยากฤต. (ส.; ป. อพฺยากต).
บอกใบ้
หมายถึงก. แนะด้วยอุบาย, บอกเป็นเลศนัย.
รู้กัน
หมายถึงก. รู้เป็นนัยกันเฉพาะในกลุ่มของตน เช่น เรื่องนี้เขารู้กัน.
เอกนัย
หมายถึง[เอกะ-, เอกกะ-] น. นัยอันหนึ่ง, นัยอันเดียวกัน.
ล้อความตาย,ล้อมฤตยู,ล้อมัจจุราช
หมายถึงก. กระทำการใด ๆ ที่เสี่ยงต่อความตาย.
กำกวม
หมายถึงว. เคลือบคลุม, คลุมเครือ, มีความหมายได้หลายนัย.
ตาบอดคลำช้าง
หมายถึง(สำ) น. คนที่รู้อะไรด้านเดียวหรือนัยเดียวแล้วเข้าใจว่าสิ่งนั้นเป็นอย่างนั้น.
หน้ายิ้ม ๆ
หมายถึงว. อาการยิ้มน้อย ๆ อย่างมีเลศนัย.