ตัวกรองผลการค้นหา
กรร
หมายถึง[กัน] (เลิก) ก. กัน เช่น เรือกรร.
การใช้ ร หัน(รร)
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2)
ภาษาบาลี-สันกฤต
วรรธกะ
หมายถึง[วัดทะกะ] น. ผู้เจริญ. (ส. วรฺธก ว่า ผู้ทำให้เจริญ; ป. วฑฺฒก).
ทุกร,ทุกร-
หมายถึง[ทุกกะระ-] (แบบ) น. สิ่งที่ทำได้ยาก. (ป. ทุกฺกร).
พ
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๐ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากบาลีและสันสกฤต เช่น ภพ ภาพ สรรพ ผลลัพธ์.
บุพ,บุพ-,บุพพ,บุพพ-
หมายถึง[บุบพะ-] ว. ก่อน, ทีแรก; เบื้องต้น, เบื้องหน้า. (ป. ปุพฺพ; ส. ปูรฺว).
ตามพ,ตามพ-,ตามพะ
หมายถึง[ตามพะ-] (แบบ) น. ทองแดง. (ป. ตมฺพ; ส. ตามฺร).
ปุพพ,ปุพพ-,ปุพพะ
หมายถึง[ปุบพะ] ว. บุพ, บุพพะ. (ป.).
ร
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร ตัวหลังเป็นตัวสะกด เช่น กรรไตร (กันไตฺร) ยรรยง (ยันยง) และเมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีคำอื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียง ออ และตัว ร ออกเสียง อะ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี).
อัมพ,อัมพ-
หมายถึง[อำพะ-] น. ต้นมะม่วง, ใช้ว่า อัมพพฤกษ์ ก็มี. (ป.; ส. อามฺร).
ยุพ,ยุพ-
หมายถึง[ยุบพะ-] ว. หนุ่ม, สาว. (ป., ส. ยุว).
ปุรพ,ปุรพ-
หมายถึง[ปุระพะ-] ว. บุพ, บุพพะ. (ส. ปูรฺว).
ขรรคะ,ขรรคา
หมายถึง[ขักคะ, ขันคา] (แบบ) น. แรด เช่น หนึ่งนบสิขานนนารถ เถลิงขรรคาอาศน์ แลยาตรอัมพรแผ่นพาย. (ดุษฎีสังเวย). (ป. ขคฺค; ส. ขฑฺค).