ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา ค่อย, ไม่สู้, ขัด, นิโรช, ยาก, ขึ้นสนิม, แข็ง, เท่อ, แบน, อีหลุกขลุกขลัก, อึดอัด
ไม่สู้
หมายถึงว. ไม่ค่อย เช่น ไม่สู้ดี คือ ไม่ค่อยดี.
อักษรย่อชื่อเดือนทั้ง 12 เดือน
ความหมายคำว่า "เวจ" จากละครบุพเพสันนิวาส
คำไทยโบราณที่ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน
ไม่ค่อย,ไม่ใคร่
หมายถึงว. ไม่ถึงกับ, ไม่ถึงขนาดนั้น, เช่น ไม่ค่อยดำ ไม่ใคร่ดี.
ค่อย
หมายถึงว. คำนำหน้าความข้างท้ายให้ติดต่อกับความข้างหน้า แสดงกิริยาที่กระทำภายหลัง เช่น กินข้าวแล้วค่อยไป, ถ้าใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ค่อย หมายความว่า น้อย, บ้าง, (ตามส่วนของสิ่งที่พูดถึง) เช่น ไม่ค่อยมี ไม่ค่อยพูด, ไม่ใคร่ ก็ว่า.
ขัดเบา
หมายถึงก. ถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก.
ขัดหนัก
หมายถึงก. ถ่ายอุจจาระไม่ค่อยออก.
ขัดลำกล้อง
หมายถึง(ปาก) ก. ถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก (ใช้แก่ผู้ชาย).
หงิม,หงิม ๆ
หมายถึงว. อาการที่แสดงท่าทางเฉย ๆ ไม่ค่อยพูด.
เบาไม้
หมายถึงว. ว่านอนสอนง่าย ไม่ค่อยถูกเฆี่ยนถูกตีนัก (ใช้แก่เด็ก).
พร้างัดปากไม่ออก
หมายถึง(สำ) ว. นิ่ง, ไม่ค่อยพูด, พร้าคัดปากไม่ออก ก็ว่า.
ตุตัง
หมายถึงว. ตึตัง, เหม็นตืด, ล้างไม่ค่อยหายเหม็น.
ตึตัง
หมายถึงว. เหม็นตืด, ล้างไม่ค่อยหายเหม็น, ตุตัง ก็ว่า.
เสงี่ยมหงิม
หมายถึง[สะเหฺงี่ยม-] ก. สำรวมกิริยาไม่ค่อยพูดจา.