ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา อินทรีย์, อัปรีย์, อุบาทว์, ท
อิส
หมายถึง[อิด] น. หมี. (ป. อิส, อิสฺส; ส. ฤกฺษ).
มนินทรีย์
หมายถึงน. ใจซึ่งเป็นใหญ่ในการรับรู้ธรรมารมณ์ คือ อารมณ์ที่เกิดทางใจ. (ป. มน + อินฺทฺริย).
ฆานินทรีย์
หมายถึงน. จมูกซึ่งเป็นใหญ่ในการดมกลิ่น. (ป. ฆาน + อินฺทฺริย).
อิสร-
หมายถึง[อิดสะหฺระ-] ว. เป็นใหญ่, เป็นไทแก่ตัว, เช่น อิสรชน, ที่ปกครองตนเอง เช่น รัฐอิสระ, ไม่ขึ้นแก่ใคร, ไม่สังกัดใคร, เช่น อาชีพอิสระ นักเขียนอิสระ. น. ความเป็นไทแก่ตัว เช่น ไม่มีอิสระ แยกตัวเป็นอิสระ. (ป. อิสฺสร; ส. อีศฺวร).
โสตินทรีย์
หมายถึงน. หูซึ่งเป็นใหญ่ในการฟังเสียง. (ป. โสต + อินฺทฺริย).
อิสร
จักขุนทรีย์
หมายถึงน. ตาซึ่งทำหน้าที่ดูรูป. (ป. จกฺขุ + อินฺทฺริย).
หมายถึงดู จักขุ, จักขุ-.
ชิวหินทรีย์
หมายถึงน. ลิ้นซึ่งเป็นใหญ่ในการลิ้มรส. (ป. ชิวฺหา + อินฺทฺริย).
มัสยิด
หมายถึง[มัดสะ-] น. สถานที่ซึ่งอิสลามิกชนใช้เป็นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอิสลาม, สุเหร่า ก็เรียก.
อิศวร
หมายถึง[อิสวน] น. ชื่อเรียกพระศิวะซึ่งเป็นพระเจ้าองค์หนึ่งของพราหมณ์; ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส และแผลงเป็น เอศวร เช่น นเรศวร ราเมศวร, ใช้ย่อเป็น อิศร (อ่านว่า อิสวน) ก็มี เช่น ใยยกพระธำมรงค์ สำหรับองค์อิศรราช. (เพชรมงกุฎ). (ส. อีศฺวร).
อิสระ