ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา ท่า, กมลาสน์, ชีพุก, ที่, ที่นั่ง, ปีฐะ,ปีฐกะ, คลวง, บรรยงก์
ท่า
หมายถึงน. ลักษณะท่วงทีของร่างกายที่อยู่นิ่ง ๆ ในบางอิริยาบถ เช่น ท่ายืน ท่านั่ง ท่านอน; การแสดงกิริยายกมือยกเท้าเป็นต้นตามกำหนดเป็นวิธีไว้ เช่น ท่ามวย ท่ารำ; ชั้นเชิง, ท่วงที, วิธี, เช่น พลาดท่า ได้ท่า เสียท่า.
ท่านั้นท่านี้
หมายถึง(สำ) ว. อย่างนั้นอย่างนี้, โยกโย้, เช่น พูดท่านั้นท่านี้.
หมายถึงก. รอคอย เช่น เหตุไฉนรีบมาไม่ท่ากัน. (อิเหนา), มักใช้เข้าคู่กับ คอย หรือ รอ เป็น คอยท่า รอท่า.
ไม่เป็นท่า
หมายถึงก. หมดรูป, ไม่เข้าท่า, ไม่ได้ความ, เช่น แพ้ไม่เป็นท่า.
หมายถึงน. ฝั่งนํ้าสำหรับขึ้นลงหรือจอดเรือ, ท่านํ้า ก็เรียก, ที่สำหรับขึ้นลงริมนํ้า เช่น ท่าข้าม; โดยปริยายหมายถึงที่จอดยานพาหนะบางชนิด เช่น ท่าเกวียน ท่าอากาศยาน; เรียกนํ้าในแม่นํ้าลำคลองว่า นํ้าท่า, คู่กับ นํ้าฝน.
ไว้ท่า
หมายถึงก. ทำท่าทางเสมือนว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถหรือมีเกียรติสูง.
นั่ง
หมายถึงก. อาการที่หย่อนก้นให้ติดกับพื้นหรือที่รองเช่นเก้าอี้.
อิริยาบถ
หมายถึงน. อาการที่ร่างกายอยู่ในท่าใดท่าหนึ่ง คือ ยืน เดิน นั่ง นอน. (ป.).
มองเสี้ยว
หมายถึงน. ท่าโขนท่าหนึ่ง.
แขกเต้าเข้ารัง
หมายถึงน. ท่ารำท่าหนึ่ง.
ชักแป้งผัดหน้า
หมายถึงน. ท่าละครท่าหนึ่ง.
ช้านางนอน