ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา น้ำขึ้นให้รีบตัก
เสียกำแล้วซ้ำกอบ
หมายถึงเสียน้อยแล้วยังจะต้องเสียมากอีก
คำไวพจน์ ไฟ - คำคล้าย ไฟ
คำสนธิ คืออะไร
คำราชาศัพท์คืออะไร มีที่มาจากไหน ใช้อย่างไร
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึงอะไร
เสียกำซ้ำกอบ
เสียน้อย เสียยาก เสียมาก เสียง่าย
หมายถึงเวลาจะต้องเสียงเพียงเล็กน้อย ไม่อยากจะเสีย แต่พอถึงคราวต้องเสียมาก ๆ รับควักเงินให้ทันที อย่างข้าวของที่ชำรุดไปเล็กน้อย แทนที่จะรีบซ่อมแซมเสีย กลับปล่อยให้เสียมาก แล้วจึงซ่อมแซม ซึ่งต้องหมดเงินมากกว่าหลายเท่า
หมายถึงเสียประโยชน์เพียงเล็กน้อยแต่ไม่ยอมเสีย ทำให้ต้องมาเสียมากในที่สุด
เข้าเลือดเข้าเนื้อ
หมายถึงเสียผลประโยชน์แล้วยังต้องเสียเงินอีกด้วย
เล่นกับไฟ
หมายถึงลองดีเข้าไปเสี่ยงกับสิ่งที่รู้ว่าเป็นอันตราย
ไฟสุมขอน
หมายถึงไฟที่คุกรุ่นอยู่ในขอนไม้ขนาดใหญ่ ดับยาก, โดยปริยายหมายถึงอารมณ์รัก โกรธ หรือแค้นเป็นต้นที่ร้อนรุ่มอยู่ในใจ
ใส่ไฟ
หมายถึงเติมเชื้อเพลิง เช่น คอยเอาฟืนใส่ไฟไว้นะ อย่าให้ไฟดับ; จุดไฟเผาศพ; โดยปริยายหมายถึงให้ร้ายผู้อื่นทำให้ได้รับความเสียหาย เช่น เขาใส่ไฟผม อย่าไปเชื่อ.
หมายถึงอารมณ์รัก โกรธ หรือแค้นเป็นต้นที่ร้อนรุ่มอยู่ในใจ
หมายถึงลองดีเสี่ยงกับสิ่งที่รู้ว่าจะเป็นอันตราย
พอแรง
หมายถึงเต็มแรง, มาก, เช่น ถูกด่าเสียพอแรง ว่าเสียพอแรง
เสียกำได้กอบ
หมายถึงเสียน้อยไปก่อนแล้วจะได้มากในภายหลัง