ค้นเจอ 52 รายการ

ก่องจ่อง

หมายถึงกริยา การกระทำที่ดูแล้วไม่เข้าท่า หรือว่ายังไม่ชำนาญ อาการที่หลังของเด็กขด เรียก ขดก่องจ่อง ถ้าหลังผู้ใหญ่ว่า ขดโก่งโจ่ง ก่งจ่ง ก็ว่า.

ตำอิด,ตำก่อ

หมายถึงแต่ก่อน , ตอนแรก , เริ่มต้น , แต่ไหนแต่ไร,นานมาแล้ว

ก่องข้าว,กองเข่า

หมายถึงก่องข้าวเหนียวนึ่ง

ก่องแก่ง

หมายถึงเดินย่องไปมาอย่างว่องไว เรียก ย่างก่องแก่ง

ก่อซ่อ

หมายถึงอาการก้มหมอบตัวของเด็ก ถ้าเป็นอาการของผู้ใหญ่ เรียก กู่ซู่

หม่าข้าว

หมายถึงแช่ข้าวสาร (ข้าวเหนียว) ให้น้ำให้ข้าวอ่อนก่อนนำไปนึ่ง

กกุธ์ห้า

หมายถึงเครื่องหมายความเป็นพระราชาธิบดี ๕ อย่าง คือ ๑.มงกุฎ ๒.พระขรรค์ชัยศรี ๓.เศวตฉัตร ๔.แส้จามร ๕.ฉลองพระบาตร ทั้ง ๕ นี้เรียกว่า กกุธ์ห้า กุกกุห้าก็เรียก อย่างว่ากุกกุภัณทะห้าของพระยาปางก่อน พี่ก็ยอยกม้วนองค์อ้วนผู้เดียว (สังข์).

ฮ้องโห่

หมายถึงโห่ร้อง อย่างว่า จัดหมู่หน้ายอก่อนไหลหาญ ผายชะลือวอระนีเกี่ยวชูใสเข้า แมนหาญเข้าคุมคุมฮ้องโห่ เจ้ายี่เฆี่ยนหมู่ข้าฝูงกล้าดาดชน (ฮุ่ง).

จับจูด

หมายถึงเริ่มแบบไม่ได้ตั้งตัว , หรือไม่ได้ซ้อมกันมาก่อน ,ไม่ได้ตั้งตัว เป็นต้น

สะระหน่องก่องแก่ง

หมายถึงไม่มีความหมาย

ก่อง

หมายถึงโน้มลง , ย้อยลง

ขีน

หมายถึงไม่ชอบหน้า, ไม่พอใจ, ไม่ชอบ ขืน, ฝืน อย่างว่า ว่าเล่าทำเปืองปุ้นสมคามคลาที่ ดั่งนั้น ลุลาภพร้อมใจป้าห่อนขีนเมื่อใด (ฮุ่ง). ขัด อย่างว่า เมื่อนั้นสองแม่ป้าโลมลูกเอาใจ ก็บ่ขีนกุมารมอบศรศิลป์แก้ว บาก็ยินดีแท้ธรงศรขัดดาบ สองแม่ป้าเฮียงข้างลูบเลิง (สังข์). ขัดขืน อย่างว่า นางก็โจมแจ่มเจ้าองค์อ่อนยอมใจ ก่อนเถิ้น อาบ่มีขีนขืฃัดซิค่อยเติมตามน้อย (สังข์).

 ภาษาอีสาน จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ