ตัวกรองผลการค้นหา
ปากยาก
หมายถึงดื้อ, ไม่ยอมเชื่อฟังหรือทำตาม ใช้ได้กับทั้งเด็กและผู้ใหญ่
สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย ต่างกันอย่างไร?
คำในภาษาไทยที่อ่านยาก ระดับปราบเซียน!
กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก
กฎกรรม
หมายถึงกรรมคือการกระทำ แยกออกเป็น ๒ อย่าง คือทำดีและทำชั่ว ทำดีได้รับผลดี ทำชั่วได้รับผลชั่ว นี่คือกฎของกรรม.
กรณียกิจ
หมายถึงกิจอันควรทำ, ธุระอันควรทำ, หน้าที่อันควรทำ. (ป.).
คำฮ้าย
หมายถึงความชั่ว
กรรมวิบาก
หมายถึงผลของกรรมเรียกวิบาก ผลดีเกิดจากการทำดี ผลไม่ดีเกิดจากการทำไม่ดี คนทำดีได้รับผลดี คนทำชั่วได้รับผลชั่ว ผลชั่วแม้แต่ผลชั่วก็ไม่ต้องการ ต้องการแต่ผลดี อย่างว่า ดีดีนี้ใผเห็นอยากเบิ่ง เทิงอยากเทิ้งเอาขึ้นขี่คอ (ภาษิต).
ก้อยๆกั้กๆ
หมายถึงอาการของคนลังเล หรือ จะทำอะไรก็ไม่ทำ
เคิก
หมายถึงพัก หรือ หยุดการกระทำนั้นชั่วขณะ
ยากไฮ้
หมายถึงยากจนไม่มีอะไรจะกิน อย่างว่า ทุกข์ยากไฮ้ให้ได้อยู่นำกัน กลอยมันมีชิค่อยหาเอาเลี้ยง (ภาษิต).
บ่อยาก
หมายถึงไม่อยาก, ไม่หิว
โสก
หมายถึงโอกาสจัดเป็นดีหรือชั่ว
กุกรรม
หมายถึงความชั่วที่ทำด้วยกายวาจาและใจเรียก กุกรรม อย่างว่า ความชั่วที่ได้ทำในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ (สวดมนต์).
กรรมกร
หมายถึงคนงาน, คนรับจ้างทำงาน เช่น ชาวนา ชาวสวน เป็นต้น.