กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
คำราชาศัพท์คืออะไร มีที่มาจากไหน ใช้อย่างไร การศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์ จำเป็นต้องรู้ความหมายของคำราชาศัพท์เสียก่อน จึงจะทำให้ผู้ศึกษาเข้าใจในเนื้อหาและจุดประสงค์ของคำราชาศัพท์ได้ถ่องแท้ แม้คนทั่วไปจะไม่ได้ใช้คำราชาศัพท์บ่อยนักแต่ก็เป็นเรื่องใกล้ตัวเราที่ต้องพบเจอคำราชาศัพท์อยู่ตลอด
การใช้สระไอ ใอ ไอย อัย ภาษาไทยนั้นถือได้ว่าเป็นภาษาที่มีความซับซ้อนภาษาหนึ่งในโลกและวันนี้เราจะมาพูดถึงความแตกต่างในการใช้สระที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันอย่างไอ ใอ ไอย อัย
ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
การใช้สระในภาษาไทย วันนี้ผมมีบทความเกี่ยวกับหลักภาษาไทยมาให้ผู้อ่านได้ลองศึกษากันโดยเราจะขอพูดถึงเรื่องของสระ นั้นก็คือการใช้สระ อย่างที่เคยกล่าวว่าภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์และมีความยากในตัว แม้กระทั่งคนไทยเองยังเกิดความสับสน ในเรื่องการใช้สระก็เช่นเดียวกันบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องง่ายและบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องที่ยาก ผมจึงรวบรวมและสรุปสาระสำคัญเรื่องการใช้สระในภาษาไทยไว้ดังนี้
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ ในภาษาไทยหรือแม้กระทั่งภาษาอื่น ๆ ต่างก็มีเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการเขียนเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน หรือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่จะใช้ให้เป็นแบบแผนเดียวกัน การใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ในภาษาไทยมีหลักการใช้ สรุปได้ดังนี้
รวม 50 สำนวนไทย พร้อมความหมายน่ารู้ ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรงๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ ซึ่งเป็นข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน ส่วนใหญ่เป็นสำนวนที่เกิดจากวัฒนธรรมและพฤติกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของคนไทย
คำไวพจน์: กวาง - คำไวพจน์ของ กวาง พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "กวาง" คือ มฤค มฤคี มิค มิคะ หริณะ
คำไวพจน์: นกยูง - คำไวพจน์ของ นกยูง พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "นกยูง" คือ เมารี โมร โมรี โมเรส กระโงก กุโงก มยุรา มยุระ มยุเรศ มยุรี มยุร
คำไวพจน์: หมาจิ้งจอก - คำไวพจน์ของ หมาจิ้งจอก พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "หมาจิ้งจอก" คือ ศฤคาล สฤคาล สิคาล สิงคาล ศิคาล