คำราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้ต่าง ๆ คำราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้ต่าง ๆ ประกอบด้วย หมวดเครื่องใช้ หมวดเครื่องใช้ภายในห้องอาหาร หมวดเครื่องใช้ภายในห้องอาบน้ำ หมวดเครื่องใช้ภายในห้องแต่งตัว หมวดเครื่องใช้ภายในห้องทำงาน
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด พิเศษสำหรับบุคคลทั่วไป พุทธสุภาษิต หรือ พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดี ๆ ในพระพุทธศาสนา แต่ไม่ได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม แต่ก็ยังมีสุภาษิตคำอื่นที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาด้วย เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต หรือ พุทธสุภาษิต หรือ พระพุทธพจน์
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ ในภาษาไทยหรือแม้กระทั่งภาษาอื่น ๆ ต่างก็มีเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการเขียนเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน หรือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่จะใช้ให้เป็นแบบแผนเดียวกัน การใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ในภาษาไทยมีหลักการใช้ สรุปได้ดังนี้
คำสแลงไทยที่นิยมใช้และพบเห็นบ่อย ในยุคสมัยนี้มีหลายคำที่ฟังดูแปลก ๆ เกิดขึ้นใหม่ในสังคมไทยหลายคำ จนบางทีที่หลายคนอาจไม่เข้าใจความหมาย หรือสงสัยว่าเป็นคำจากภาษาอื่น
การเขียนคำอวยพร เทศกาลแห่งความสุขใกล้เข้ามาแล้ว หลายคนก็มีการวางแผนต่างๆไว้แล้วว่าจะทำอะไรบ้างในช่วงปีใหม่นี้ สิ่งหนึ่งที่เรามักเห็นหรือได้ยินในช่วงเทศกาลนั้นก็คือคำอวยพร บทความนี้เราจึงจะมาพูดถึงการเขียนอวยพรให้กับผู้อื่น
คำมูล คำมูล หมายถึง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเองโดยไม่ได้ประสมกับคำอื่น ซึ่งคำมูลนี้จะเป็นพยางค์เดียว หรือหลายพยางค์ก็ได้ ได้แก่
อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง หมายถึงอะไร อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง หมายถึง อย่าวางใจหรือไว้วางใจใครคนอื่นง่ายเกินไป จะเป็นเราที่เดือดร้อนในภายหลังได้
บัณฑิต ตรงกับคำไหนในภาษาบาลีและสันสกฤต คำไทยนั้นมีการยืมคำจากภาษาอื่นมาเยอะมาโดยเฉพาะภาษาบาลีและสันสกฤต และคำว่าบัณทิตก็เป็นคำยืมคำหนึ่ง
คนโง่ได้ยศก็ไม่เกิดประโยชน์ ผู้มีปัญญาทรามได้ยศแล้ว ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน ย่อมปฏิบัติเพื่อความเบียดเบียนตน และคนอื่น
อักษรย่อ คืออะไร วันนี้เรามาทำความรู้จักกับอักษรย่อกันถึงความหมาย ที่มาที่ไป และตัวอย่าง โดยได้รวบรวมมาให้แล้วในบทความนี้ แต่ก่อนอื่นรู้หรือไม่ว่ามีชื่อเรียกของอักษรย่ออีกอย่างว่า รัสพจน์ อยากรู้แล้วใช่มั้ยหล่ะ ไปดูกันเลย
คำควบกล้ำไม่แท้ 40 คำ คำควบไม่แท้ คือ คำควบที่ออกเสียงแต่พยัญชนะต้นตัวหน้าตัวเดียวบ้าง ออกเสียงกลายเป็นตัวอื่นไปบ้าง มี 2 ลักษณะ ไม่ออกเสียง /ร/ หรือ ออกเสียง /ซ/