ลักษณะนาม หลายคนอาจจะเคยเข้าใจผิดและงงกับลักษณะนามของการเรียกสิ่งต่างๆ เรียกว่าอย่างไรกันแน่ วันนี้มาดูกันว่าคำนามเหล่านี้จะมีลักษณะนามเรียกว่าอย่างไร
ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
คำควบกล้ำไม่แท้ 40 คำ คำควบไม่แท้ คือ คำควบที่ออกเสียงแต่พยัญชนะต้นตัวหน้าตัวเดียวบ้าง ออกเสียงกลายเป็นตัวอื่นไปบ้าง มี 2 ลักษณะ ไม่ออกเสียง /ร/ หรือ ออกเสียง /ซ/
ต้นกำเนิดความเป็นมาผัดกะเพรา เมื่อเอ่ยถึงอาหารไทยคงไม่มีคนไทยคนไหนไม่รู้จัก "ผัดกะเพรา" ซึ่งเป็นอาหารที่คนไทยนิยมรับประทานเป็นอันดับหนึ่งเลยก็ว่าได้แต่มีใครรู้หรือไม่ว่าผัดกะเพรานั้นมีมาได้อย่างไร
กะเพรา & คำที่ขึ้นต้นด้วย กะ หากจะพูดถึงความสับสนงงงวยทางภาษาแน่นอนว่าภาษาไทยเราต้องติดอันดับอย่างแน่นอน เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่ยากและเยอะ อย่างคำศัพท์ในบทความนี้
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
รวมคำทับศัพท์ที่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยอัป-อัพ การเขียนคำทับศัพท์ผิดเป็นเรื่องที่พบได้บ่อยครั้ง เนื่องจากเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเดิมของคำนั้นมากที่สุด ด้วยข้อจำกัดของเสียงและภาษาที่แตกต่างกันจึงทำให้ใครหลายคนสะกดหรือเขียนผิดไปจากหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
อักษร ๓ หมู่ เมื่อกล่าวถึงอักษร ๓ หมู่ จะเข้าใจตรงกันว่า ไตรยางศ์ แปลว่า ๓ ส่วน เป็นชื่อเรียกการจำแนกอักษร ๓ หมู่ ได้แก่ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่ำ แต่ทั้งสามนี้มีลักษณะอย่างไร เราจะได้รู้ต่อไปในบทความนี้
ระดับของภาษา ในชีวิตประจำวันเราต่างสื่อสารกันอย่างมากมายหลากหลายผู้คนซึ่งภาษาและลักษณะภาษาที่ใช้พูดกับแต่ละบุคคลก็แตกต่างกัน วันนี้ทุกคนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของภาษาว่าแต่ละระดับใช้อย่างไรและแตกต่างกันอย่างไรดังต่อไปนี้
คำควบกล้ำ หรือ อักษรควบ ภาษาไทยเป็นอีกหนึ่งภาษาที่มีการออกเสียงยากมาก ๆ และหนึ่งในนั้น การออกเสียงคำควบกล้ำก็เป็นอีกหนึ่งสาเหตุ วันนี้เราจึงได้นำเรื่องคำควบกล้ำมาฝากกันว่ามีลักษณะอย่างไร มีคำอะไรบ้างไปดูกัน
คำที่อ่านควบกล้ำไม่แท้ ดังที่ทราบกันดีว่าในภาษาไทยจะมีคำควบกล้ำสองลักษณะ คือ คำควบกล้ำแท้ และคำควบกล้ำไม่แท้
วิธีการใช้ let และ let’s ในภาษาอังกฤษ หนึ่งในบรรดาคำขึ้นต้นประโยค และเห็นบ่อยครั้งในบทสนทนา ก็จะมีคำว่า Let นี้แหละเป็นคำแรกที่นึกถึงเลย แต่ไม่ง่ายอย่างนั้นหน่ะสิ เพราะว่าดันมี 2 รูปแบบซะนี่ คือ Let กับ Let's แล้วแบบก็ชวนให้งงไม่น้อยว่ารูปไปจะใช้ตอนใดบ้าง วันนี้เรามาดูกันดีกว่าว่าหลักการใช้ Let มีอะไรบ้าง และเราจะเลือกใช้ได้ในกรณีใด