ประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาถึงเรื่องสาเหตุที่ต้องมีคำราชาศัพท์นั้นมีที่มาอย่างไร วันนี้เรามาอธิบายให้ฟังดีกว่า และจะอธิบายให้เห็นถึงประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ให้ฟังกันด้วย
รวม 50 สำนวนไทย พร้อมความหมายน่ารู้ ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรงๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ ซึ่งเป็นข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน ส่วนใหญ่เป็นสำนวนที่เกิดจากวัฒนธรรมและพฤติกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของคนไทย
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ 100 คำที่ควรรู้ คำราชาศัพท์ 100 คำที่ควรรู้ แยกตามหมวดต่าง ๆ หมวดละ 10 คำ คัดสรรมาให้เรียบร้อยทุกหมวดหมู่
รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน สำนวน "รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม" หมายถึง เรียนรู้ไว้ไม่หนักเรี่ยวหนักแรงหรือเสียหายอะไร
คำไวพจน์ พร้อมความหมายน่ารู้ คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้อง" เช่น ครู และ อาจารย์, นักเรียน และ นักศึกษา
คำสุภาพที่ควรรู้ คู่กับคำราชาศัพท์ คำสุภาพที่ควรรู้ มีดังต่อไปนี้ เจ็ดโยชน์ = สองพันแปดร้อยเส้น, เจ็ดอย่าง = เจ็ดประการ, เถาตูดหมูตูดหมา = เถากระพับโหม - คำว่า " ใส่ " ที่ใช้ได้และใช้ไม่ได้
สุภาษิตไทย รู้ไว้ ไม่ล้าสมัย สุภาษิต หมายถึง คำกล่าวที่ดีงาม มักเป็นคำสั่งสอน แนะนำให้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ หรือละเว้นจากการทำความชั่ว เป็นต้น ดังนั้น สรุปได้ว่า สุภาษิตไทย คือ คำที่มุ่งสั่งสอนให้ ประพฤติปฏิบัติดี โดยเป็นเพียง คำสั้นๆ มีความคมคาย ไพเราะ น่าฟัง จำง่าย
เกร็ดความรู้จากละครข้ามสีทันดร วันนี้เราจะขอพูดถึงละครที่กำลังออนแอร์ในขณะนี้ของพระเอกสุดฮอตอย่างหนุ่มโป๊ป ธนวรรธน์นั้นก็คือเรื่องข้ามสีทันดรนั้นเอง ซึ่งละครเรื่องนี้ถือว่าเป็นละครสะท้อนปัญหาสังคมน้ำดีเรื่องหนึ่งเลยก็ว่าได้นอกจากจะได้ความสนุกแล้วยังได้ข้อคิดสะท้อนปัญหาครอบครัวอีกด้วย เมื่อละครดีขนาดนี้เราจึงอยากมานำเสนอสาระเกร็ดความรู้เกี่ยวกับละครเรื่องนี้ให้ทุกคนได้รู้กัน มาดูกันเลยดีกว่า
รวบรวม 20 สำนวนไทย รู้เอาไว้ ทันสมัยตลอดกาล จะกี่ยุคกี่สมัย ไม่ว่าจะเป็นหนุ่มสาว หรือผู้หลักผู้ใหญ่ก็นิยมใช้สำนวนไทยอยู่เรื่อย ๆ แบบว่าเป็นเจ้าบทเจ้ากลอนก็คงไม่ผิดนัก แม้จะพูดจาหรือสั่งสอนใคร ก็มักจะอ้างเอาสำนวน สุภาษิต หรือคำพังเพยที่พูดต่อ ๆ กันมาตั้งแต่ครั้งโบราณมาเปรียบเทียบเปรียบเปรยเสมอ ซึ่งคำเหล่านี้มักจะเป็นคำที่คล้องจองกัน ทำให้จดจำได้ง่ายและเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น