กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
ตำแหน่ง เจ้าคุณพระ ที่มาแต่อดีต ตั้งแต่โบราณ เปิดความรู้เรื่องยศ เจ้าคุณพระ หรือ พระสนมเอก ภายหลังการสถาปนา เจ้าคุณพระสินีนาฏ ในปีพ.ศ. 2562
โกดัง หรือ คลังสินค้า แท้จริงแล้วมาจากคำนี้ เมื่อวานไปคุยงานกับลูกค้าเกี่ยวกับระบบการจัดการโกดังสินค้า เลยสะกิดใจว่าและระลึกออกว่าทำไมถึงเรียกว่า "โกดัง"
คำราชาศัพท์คืออะไร มีที่มาจากไหน ใช้อย่างไร การศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์ จำเป็นต้องรู้ความหมายของคำราชาศัพท์เสียก่อน จึงจะทำให้ผู้ศึกษาเข้าใจในเนื้อหาและจุดประสงค์ของคำราชาศัพท์ได้ถ่องแท้ แม้คนทั่วไปจะไม่ได้ใช้คำราชาศัพท์บ่อยนักแต่ก็เป็นเรื่องใกล้ตัวเราที่ต้องพบเจอคำราชาศัพท์อยู่ตลอด
วรรณคดี หมายถึงอะไร? เรียนรู้ภาษาไทยในวันนี้ เรามาทำความรู้จักกับ “วรรณคดี” กันนะครับ ว่ามีความหมายว่าอย่างไร และมีกี่ประเภท
กะเพรา กระเพรา กะเพา เขียนอย่างไรจึงจะมีความหมายถูกต้อง กะเพรา หรือ กระเพรา อีกหนึ่งคำศัพท์ที่เรามักจะสับสนจนทำให้เขียนผิดอยู่เรื่อย ๆ แล้วตกลงคำไหนถูกกันหล่ะ ในบทความนี้มีคำตอบ
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ
ชื่ออาหารที่ยืมมาจากคำภาษาจีน ภาษาไทยมีคำยืมมาจากภาษาต่างประเทศหลายภาษา เช่น ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาชวา ภาษาบาลี ภาษาละติน ภาษาสันสกฤต ภาษาอังกฤษ
คำที่มีความหมายว่า ดวงจันทร์ ปัจจุบันคำที่เราใช้ไม่ได้เป็นคำที่จากภาษาไทยเพียงเท่านั้นยังมีคำที่มาจากประเทศอื่นอีกมากมายที่เราใช้จนชินตา เช่น คำจากภาษาเขมร บาลี-สันสกฤต จีน อังกฤษ วันนี้เราจึงมานำเสนอคำที่มีความหมายว่า "ดวงจันทร์" ที่เราใช้กันในภาษาไทยว่ามีคำไหนบ้าง มาดูกันเลย
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ ในภาษาไทยหรือแม้กระทั่งภาษาอื่น ๆ ต่างก็มีเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการเขียนเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน หรือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่จะใช้ให้เป็นแบบแผนเดียวกัน การใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ในภาษาไทยมีหลักการใช้ สรุปได้ดังนี้
รวม 50 สำนวนไทย พร้อมความหมายน่ารู้ ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรงๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ ซึ่งเป็นข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน ส่วนใหญ่เป็นสำนวนที่เกิดจากวัฒนธรรมและพฤติกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของคนไทย
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน