พุทธศาสนสุภาษิต หมวด ตน ฝึกตน พุทธสุภาษิต หรือ พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดี ๆ ในพระพุทธศาสนา แต่ไม่ได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม แต่ก็ยังมีสุภาษิตคำอื่นที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาด้วย เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต หรือ พุทธสุภาษิต หรือ พระพุทธพจน์
คนโง่ได้ยศก็ไม่เกิดประโยชน์ ผู้มีปัญญาทรามได้ยศแล้ว ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน ย่อมปฏิบัติเพื่อความเบียดเบียนตน และคนอื่น
กบในกะลาครอบ หมายถึงอะไร กบในกะลาครอบ หมายถึง ผู้มีความรู้และประสบการณ์น้อย แต่สำคัญตนว่ามีความรู้มาก
All right vs Alright All right มีความหมายหลากหลาย อาจจะหมายถึง โอเค ใช้แสดงการยอมรับเห็นด้วย หรืออาจจะหมายถึงไม่เป็นไรก็ได้
กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
รวมกริยา 3 ช่อง ที่มีช่องที่ 2 และที่ 3 เขียนเหมือนกัน กริยา 3 ช่อง คือ คำที่ใช้เพื่อบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา หรือใช้แสดงถึงเหตุการณ์ในช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ได้แก่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต
คำที่มีตัวการันต์ ตัวการันต์ คือ คำที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ ( ์ ) กำกับอยู่บนพยัญชนะ เพื่อแสดงให้รู้ว่าไม่ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น และรวมคำที่มีตัวการันต์ทั้งหมดมาไว้ในบทความแล้ว
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก นอกจากเราใช้ภาษาเป็นเครื่องมือเพื่อการสื่อสารแล้วภาษายังแสดงถึงการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมเพราะภาษาเป็นส่วนหนึ่งที่ถ่ายทอดสภาพความเป็นอยู่ของแต่ละสังคม คนไทยจึงภูมิใจในความเป็นไทยที่เรามีภาษาไทยอันงดงาม
คำบอกรักวันวาเลนไทน์ สวัสดีเดือนแห่งความรักครับ พอพูดถึงเดือนกุมภาพันธ์หลายคนก็ต้องนึกถึงเทศกาลแห่งความรักวันวาเลนไทน์ 14 กุมภาพันธ์นั่นเอง เทศกาลวันวาเลนไทน์เป็นเทศกาลของชาวตะวันตกแต่คนไทยเองก็ให้ความนิยมและมีการแสดงความรักต่าง ๆ ในวันนี้เช่นเดียวกัน
ปราชญ์ พึงรักษาศีล ปราชญ์ หมายถึง บุคคลผู้มีปัญญา รู้ว่าสิ่งไหนควรทำหรือไม่ควร รู้ว่าอะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป และละสิ่งที่เป็นบาป เจริญแต่สิ่งที่เป็นกุศล การรักษาศีลก็เป็นการทำบุญกุศล อย่างหนึ่งซึ่งมีอานิสงส์มาก ปราชญ์ท่านก็รู้จึงได้รักษาอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เพราะเมื่อรักษาศีลให้ดีให้เคร่งครัดแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวต่อโทษและภัยต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการป้องกันจากอบาย และเป็นหนทางที่จะยกตนขึ้นสู่การปฏิบัติธรรมชั้นสูง ๆ ขึ้นไปอีก จนกนะทั่งถึงพระนิพพาน
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง