คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ออกเสียงคล้ายกัน สำหรับคนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (หรือแม้แต่คนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ก็ตาม) สิ่งที่เราเจอกันเสมอก็คือ การสับสนทางไวยากรณ์ หรือการใช้คำบางคำผิดหรือสับสน โดนเฉพาะคำที่ออกเสียงคล้ายๆ กัน
คำในภาษาไทยที่อ่านได้สองแบบ มาทบทวนกันในเรื่องคำพ้องก่อนจะไปดูคำศัพท์เพื่อที่ว่าจะได้ไม่เกิดความสับสน และคำศัพท์ที่ว่าอ่านได้สองแบบแต่หมายถึงคำ ๆ เดียวกันนั้นจะมีคำใดบ้างไปดูกันเลย
วันฮาโลวีน กับ ตำนานฟักทอง Jack O’Lantern เทศกาลฮาโลวีนวนรอบกลับมาถึงอีกแล้ว และทุกครั้งที่นึกถึงฮาโลวีน เราก็ต้องนึกถึงตะเกียงฟักทองคู่กันเสมอ
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึงอะไร พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึง พูดไปก็ไม่มีประโยชน์ สู้นิ่งไว้ดีกว่า
ทันการ, ทันกาล และทันการณ์ คำไหนถูก คำในภาษาไทยมักสร้างความสับสนให้กับผู้ใช้อยู่เสมอ แม้แต่คนไทยที่ใช้ภาษาไทยเป็นประจำอย่างเรา ๆ ในบางครั้งยังเกิดความไม่แน่ใจว่าคำนั้นต้องเขียนและสะกดอย่างไรให้ถูกต้อง
คำราชาศัพท์ หมวด อวัยวะภายในร่างกาย คำราชาศัพท์เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่อยู่คู่กับภาษาไทยมาอย่างยาวนาน หากจะมองว่าไม่จำเป็นหรือไม่ใช่เนื้อหาสำคัญที่จะได้ใช้ในชีวิตประจำวันก็คงจะพูดไม่ถูกนัก เพราะคำราชาศัพท์เหล่านี้เรามักจะเจออยู่เสมอตั้งแต่เด็ก ๆ จนโต
คำสมาส คำสมาส เป็นคำที่เกิดจากการรวมคำสองคำซึ่งต่างก็เป็นคำบาลีหรือสันสกฤตเข้าเป็นคำเดียวกัน โดยการนำมาเรียงต่อกัน ไม่ได้มีการดัดแปลงรูปอักษร มีการออกเสียง อะ อิ อุ ระหว่างคำ
คำที่อ่านควบกล้ำไม่แท้ ดังที่ทราบกันดีว่าในภาษาไทยจะมีคำควบกล้ำสองลักษณะ คือ คำควบกล้ำแท้ และคำควบกล้ำไม่แท้
คำสุภาพที่ควรรู้ คู่กับคำราชาศัพท์ คำสุภาพที่ควรรู้ มีดังต่อไปนี้ เจ็ดโยชน์ = สองพันแปดร้อยเส้น, เจ็ดอย่าง = เจ็ดประการ, เถาตูดหมูตูดหมา = เถากระพับโหม - คำว่า " ใส่ " ที่ใช้ได้และใช้ไม่ได้
คำศัพท์วันวาเลนไทน์ อัปเดต 2023 เข้าสู่เดือนที่สองของปีอย่างรวดเร็ว เผลอ ๆ แป๊บเดียวเดือนแห่งความรักก็มาถึงเสียแล้ว คนมีความรักคงเฝ้ารอคอยเดือนนี้อย่างแน่นอน ก่อนจะถึงวันวาเลนไทน์เราลองมาดูกันก่อนว่าในวันนี้มีคำศัพท์ที่น่าสนใจอะไรบ้าง จะได้รู้ความหมายหากมีโอกาสพบเห็นและได้นำไปใช้ มาดูกันเลย
รวบรวม 20 สำนวนไทย รู้เอาไว้ ทันสมัยตลอดกาล จะกี่ยุคกี่สมัย ไม่ว่าจะเป็นหนุ่มสาว หรือผู้หลักผู้ใหญ่ก็นิยมใช้สำนวนไทยอยู่เรื่อย ๆ แบบว่าเป็นเจ้าบทเจ้ากลอนก็คงไม่ผิดนัก แม้จะพูดจาหรือสั่งสอนใคร ก็มักจะอ้างเอาสำนวน สุภาษิต หรือคำพังเพยที่พูดต่อ ๆ กันมาตั้งแต่ครั้งโบราณมาเปรียบเทียบเปรียบเปรยเสมอ ซึ่งคำเหล่านี้มักจะเป็นคำที่คล้องจองกัน ทำให้จดจำได้ง่ายและเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ภาษาบาลี-สันกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ