คำในภาษาไทยที่อ่านได้สองแบบ มาทบทวนกันในเรื่องคำพ้องก่อนจะไปดูคำศัพท์เพื่อที่ว่าจะได้ไม่เกิดความสับสน และคำศัพท์ที่ว่าอ่านได้สองแบบแต่หมายถึงคำ ๆ เดียวกันนั้นจะมีคำใดบ้างไปดูกันเลย
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ออกเสียงคล้ายกัน สำหรับคนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (หรือแม้แต่คนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ก็ตาม) สิ่งที่เราเจอกันเสมอก็คือ การสับสนทางไวยากรณ์ หรือการใช้คำบางคำผิดหรือสับสน โดนเฉพาะคำที่ออกเสียงคล้ายๆ กัน
ภาษาบาลี-สันกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ
คำที่อ่านควบกล้ำไม่แท้ ดังที่ทราบกันดีว่าในภาษาไทยจะมีคำควบกล้ำสองลักษณะ คือ คำควบกล้ำแท้ และคำควบกล้ำไม่แท้
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึงอะไร พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึง พูดไปก็ไม่มีประโยชน์ สู้นิ่งไว้ดีกว่า
คำสมาส คำสมาส เป็นคำที่เกิดจากการรวมคำสองคำซึ่งต่างก็เป็นคำบาลีหรือสันสกฤตเข้าเป็นคำเดียวกัน โดยการนำมาเรียงต่อกัน ไม่ได้มีการดัดแปลงรูปอักษร มีการออกเสียง อะ อิ อุ ระหว่างคำ
ระดับของภาษา ในชีวิตประจำวันเราต่างสื่อสารกันอย่างมากมายหลากหลายผู้คนซึ่งภาษาและลักษณะภาษาที่ใช้พูดกับแต่ละบุคคลก็แตกต่างกัน วันนี้ทุกคนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของภาษาว่าแต่ละระดับใช้อย่างไรและแตกต่างกันอย่างไรดังต่อไปนี้
คำสุภาพที่ควรรู้ คู่กับคำราชาศัพท์ คำสุภาพที่ควรรู้ มีดังต่อไปนี้ เจ็ดโยชน์ = สองพันแปดร้อยเส้น, เจ็ดอย่าง = เจ็ดประการ, เถาตูดหมูตูดหมา = เถากระพับโหม - คำว่า " ใส่ " ที่ใช้ได้และใช้ไม่ได้
คำศัพท์วันวาเลนไทน์ อัปเดต 2023 เข้าสู่เดือนที่สองของปีอย่างรวดเร็ว เผลอ ๆ แป๊บเดียวเดือนแห่งความรักก็มาถึงเสียแล้ว คนมีความรักคงเฝ้ารอคอยเดือนนี้อย่างแน่นอน ก่อนจะถึงวันวาเลนไทน์เราลองมาดูกันก่อนว่าในวันนี้มีคำศัพท์ที่น่าสนใจอะไรบ้าง จะได้รู้ความหมายหากมีโอกาสพบเห็นและได้นำไปใช้ มาดูกันเลย
ภาษาทางการ หรือ ภาษาราชการ ในการสื่อสารของมนุษย์ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด สิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงในการสื่อสารนั้นก็คือมารยาทและความเหมาะสมที่ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการพูดหรือการเขียนก็ต้องดูความเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาไทย วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงดับภาษาที่เป็นทางการว่าควรพูดอย่างไร ควรใช้คำในรูปแบบไหน สถานการณ์ใดจึงจะเหมาะสม แล้ววันนี้เราจะได้รู้กัน
สาเหตุการเกิดภาษา หลายคนอาจจะเคยสงสัยว่าภาษาไทยที่เราใช้สื่อสารกันในทุกวันนี้มีที่มาอย่างไร วันนี้เราจะมาหาคำตอบกันจากบทความนี้ มาดูกันว่าภาษาเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก นอกจากเราใช้ภาษาเป็นเครื่องมือเพื่อการสื่อสารแล้วภาษายังแสดงถึงการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมเพราะภาษาเป็นส่วนหนึ่งที่ถ่ายทอดสภาพความเป็นอยู่ของแต่ละสังคม คนไทยจึงภูมิใจในความเป็นไทยที่เรามีภาษาไทยอันงดงาม