คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง
กริยา 3 ช่อง มากกว่า 1000 คำ พร้อมคำแปล และคำที่ใช้บ่อย ในภาษาอังกฤษมีคำศัพท์มากมาย รวมถึงคำกริยาด้วย ถ้าให้ท่องหรือให้รู้ทั้งหมดคงต้องใช้เวลามากเลยทีเดียว แต่อย่างที่เรารู้แหละ ยิ่งรู้คำศัพท์เยอะ เรายิ่งจะเก่งภาษาอังกฤษมากขึ้นตาม เอาเป็นว่าเรามาเริ่มต้นด้วยเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษจากกริยาที่จำเป็นต้องรู้ 100 คำนี้ก่อนเลย โดยคำศัพท์ถูกรวบรวมมาจากสถิติการค้นหาของเพื่อน ๆ ใน รอบ 1 ปีมานี้ นั่นหมายความว่า เป็นกลุ่มคำศัพท์ที่มีการนำไปใช้งานกันบ่อยนั่นเอง แสดงถึงการที่ไม่ต้องสงสัยเลยว่าจะไม่ให้รู้ได้อย่างไร ต้องรู้ต้องใช้ให้เป็นแล้วหล่ะ ไปเลยอย่ารีรอ
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ ในภาษาไทยหรือแม้กระทั่งภาษาอื่น ๆ ต่างก็มีเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการเขียนเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน หรือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่จะใช้ให้เป็นแบบแผนเดียวกัน การใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ในภาษาไทยมีหลักการใช้ สรุปได้ดังนี้
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
ภาษาทางการ หรือ ภาษาราชการ ในการสื่อสารของมนุษย์ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด สิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงในการสื่อสารนั้นก็คือมารยาทและความเหมาะสมที่ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการพูดหรือการเขียนก็ต้องดูความเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาไทย วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงดับภาษาที่เป็นทางการว่าควรพูดอย่างไร ควรใช้คำในรูปแบบไหน สถานการณ์ใดจึงจะเหมาะสม แล้ววันนี้เราจะได้รู้กัน
กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
คำราชาศัพท์ ที่ใช้กับ พระภิกษุสงฆ์ พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ ในภาษาไทยจึงมีการกำหนดถ้อยคำไว้จำนวนหนึ่งสำหรับใช้กับภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพราะพระภิกษุอยู่ในฐานะที่เป็นผู้สืบพระพุทธศาสนา และเป็นผู้ทรงศีล สามารถเทศนาสั่งสอนประชาชนให้ประพฤติดีประพฤติชอบ จึงควรใช้ภาษาด้วยถ้อยคำสุภาพและถูกต้องตามกาลเทศะ เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความเคารพนับถือ
รวม 50 สำนวนไทย พร้อมความหมายน่ารู้ ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรงๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ ซึ่งเป็นข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน ส่วนใหญ่เป็นสำนวนที่เกิดจากวัฒนธรรมและพฤติกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของคนไทย
รวบรวม 20 สำนวนไทย รู้เอาไว้ ทันสมัยตลอดกาล จะกี่ยุคกี่สมัย ไม่ว่าจะเป็นหนุ่มสาว หรือผู้หลักผู้ใหญ่ก็นิยมใช้สำนวนไทยอยู่เรื่อย ๆ แบบว่าเป็นเจ้าบทเจ้ากลอนก็คงไม่ผิดนัก แม้จะพูดจาหรือสั่งสอนใคร ก็มักจะอ้างเอาสำนวน สุภาษิต หรือคำพังเพยที่พูดต่อ ๆ กันมาตั้งแต่ครั้งโบราณมาเปรียบเทียบเปรียบเปรยเสมอ ซึ่งคำเหล่านี้มักจะเป็นคำที่คล้องจองกัน ทำให้จดจำได้ง่ายและเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z (ต่อ 2) หลักการจำ กริยา 3 ช่อง ง่ายมาก เพียงแค่ให้นึกถึง สูตรคูณคณิตศาสตร์ก็สามารถท่องได้ เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้นๆ ที่ใช้ หลังจากเรียนคำกริยา 3 ช่องแล้ว เราก็ควรไปเรียนเรื่อง Tense ต่อ จะได้เข้าใจและใช้งานได้ถูกต้อง
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z (ต่อ 3) หลักการจำ กริยา 3 ช่อง ง่ายมาก เพียงแค่ให้นึกถึง สูตรคูณคณิตศาสตร์ก็สามารถท่องได้ เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้นๆ ที่ใช้ หลังจากเรียนคำกริยา 3 ช่องแล้ว เราก็ควรไปเรียนเรื่อง Tense ต่อ จะได้เข้าใจและใช้งานได้ถูกต้อง