การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ ในภาษาไทยหรือแม้กระทั่งภาษาอื่น ๆ ต่างก็มีเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการเขียนเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน หรือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่จะใช้ให้เป็นแบบแผนเดียวกัน การใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ในภาษาไทยมีหลักการใช้ สรุปได้ดังนี้
อักษรย่อกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ ของไทย ในงานเขียนหลายครั้งตัวอักษรย่อก็ถูกนำมาใช้อาจจะด้วยเหตุผลที่ต่างกันออกไป แน่นอนหนึ่งในหมวดที่นิยมใช้อักษรย่อแทนก็คือชื่อเต็มของกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเขียนหรือใช้งาน ซึ่งพบได้ตามข่าว เอกสาร และสื่ออื่น ๆ บางครั้งได้สร้างความสับสนให้แก่ผู้อ่านเพราะยากจะเข้าใจว่าตัวอักษรเหล่านั้นย่อมาจากอะไร
คำราชาศัพท์ ที่ใช้กับ พระภิกษุสงฆ์ พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ ในภาษาไทยจึงมีการกำหนดถ้อยคำไว้จำนวนหนึ่งสำหรับใช้กับภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพราะพระภิกษุอยู่ในฐานะที่เป็นผู้สืบพระพุทธศาสนา และเป็นผู้ทรงศีล สามารถเทศนาสั่งสอนประชาชนให้ประพฤติดีประพฤติชอบ จึงควรใช้ภาษาด้วยถ้อยคำสุภาพและถูกต้องตามกาลเทศะ เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความเคารพนับถือ
ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
ผู้หมั่นในการงาน จึงควรอยู่ในราชการ ผู้หมั่นในการงาน ไม่ประมาท เป็นผู้รอบคอบ จัดการงานเรียบร้อย จึงควรอยู่ในราชการ
ทันการ, ทันกาล และทันการณ์ คำไหนถูก คำในภาษาไทยมักสร้างความสับสนให้กับผู้ใช้อยู่เสมอ แม้แต่คนไทยที่ใช้ภาษาไทยเป็นประจำอย่างเรา ๆ ในบางครั้งยังเกิดความไม่แน่ใจว่าคำนั้นต้องเขียนและสะกดอย่างไรให้ถูกต้อง
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
คำราชาศัพท์คืออะไร มีที่มาจากไหน ใช้อย่างไร การศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์ จำเป็นต้องรู้ความหมายของคำราชาศัพท์เสียก่อน จึงจะทำให้ผู้ศึกษาเข้าใจในเนื้อหาและจุดประสงค์ของคำราชาศัพท์ได้ถ่องแท้ แม้คนทั่วไปจะไม่ได้ใช้คำราชาศัพท์บ่อยนักแต่ก็เป็นเรื่องใกล้ตัวเราที่ต้องพบเจอคำราชาศัพท์อยู่ตลอด
สุภาษิตสอนหญิง - สุนทรภู่ [จริงหรือ?] บทประพันธ์เรื่อง "สุภาษิตสอนหญิง" หรือ "สุภาษิตสอนสตรี" แต่งด้วยกลอนสุภาพ จำนวนทั้งหมด ๒๐๑ บท มีนามผู้แต่งว่า "ภู่" ทำให้เข้าใจว่า สุนทรภู่เป็นผู้แต่ง แต่ปัจจุบันมีนักวิชาการบางกลุ่มได้ศึกษาและตั้งข้อสังเกตว่า สุนทรภู่ไม่ใช่ผู้แต่งสุภาษิตสอนหญิง เพียงแต่ผู้แต่งชื่อ "ภู่"
คำอวยพรแก่ผู้ใหญ่ สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาพูดถึงกันในหัวข้อคำกล่าวอวยพรที่เราจะกล่าวให้แก่ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีอายุมากกว่าเรานั้นว่ามีหลักการสำคัญที่ต้องคำนึงถึงอย่างไรจึงจะเหมาะสมสำหรับคนไทย เพราะคนไทยเรานั้นถือเรื่องมารยาทและการให้ความเคารพคนที่มีอายุมากกว่า (มีอาวุโสกว่านั่นแหละ) เป็นสำคัญ ดังนั้นเรามาดูกันเลยว่าการจะกล่าวอวยพรแก่ผู้หลักผู้ใหญ่หรือคนที่มีอายุมากกว่าเรานั้นมีอะไรที่ต้องเรียนรู้บ้าง
การใช้สระในภาษาไทย วันนี้ผมมีบทความเกี่ยวกับหลักภาษาไทยมาให้ผู้อ่านได้ลองศึกษากันโดยเราจะขอพูดถึงเรื่องของสระ นั้นก็คือการใช้สระ อย่างที่เคยกล่าวว่าภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์และมีความยากในตัว แม้กระทั่งคนไทยเองยังเกิดความสับสน ในเรื่องการใช้สระก็เช่นเดียวกันบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องง่ายและบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องที่ยาก ผมจึงรวบรวมและสรุปสาระสำคัญเรื่องการใช้สระในภาษาไทยไว้ดังนี้