พิธีราชาภิเษก ใกล้เข้ามาทุกทีสำหรับวันสำคัญของปวงชนชาวไทย นั้นก็คือพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม พุทธศักราช 2562 วันนี้เราจึงนำสาระความรู้ที่คนไทยควรรู้ในวันสำคัญนี้มาให้ได้อ่านดูกัน ตามนี้เลย
คำราชาศัพท์ที่พบในพิธีราชาภิเษก ใกล้เข้ามาทุกทีสำหรับวันสำคัญของปวงชนชาวไทย นั้นก็คือพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม พุทธศักราช 2562 ในพิธีบรมราชาภิเษกหรือพระราชพิธีอื่น ๆ นั้นจะมีคำราชาศัพท์ใดบ้างที่เกี่ยวข้อง
"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท หลายครั้งหลายคราที่จะใช้คำ "Update" ในแบบภาษาไทย แต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะเขียนยังไงดี เนื่องจากเข้าใจว่าต้องเขียนเป็น "อัปเดต" แต่พอเอาไปพิมพ์ลองใน Google ก็ดันแนะนำว่าต้องเป็น "อัพเดต" แทนเฉยเลย รวมถึงบทความต่าง ๆ ก็นิยมใช้ "อัพเดต" กันเสียด้วย
เลือดรักทระนง อ่านว่าอย่างไร เมื่อคืนได้ดูละครที่กำลังออนแอร์อยู่ที่ช่อง 3 ตอนนี้ ซึ่งมีพระเอกในดวงใจอย่างโป๊บ ธนวรรธน์ วรรธนภูติ จับคู่กับ เดียร์น่า ฟลีโป ดูไปก็เพลิน ๆ ดี พอดูไปดูมาก็เอะใจขึ้นว่าครั้งหนึ่งเคยเถียงกับกัลยาณมิตรเรื่องการออกเสียงของคำว่า "ทระนง" ว่า ทอ-ระ-นง หรือ ทะ-ระ-นง กันหล่ะ
"แซ่บ" กับ "แซบ" คำไหนที่ถูกต้อง เป็นคำถามยอดนิยมของช่วงนี้กันเลยทีเดียวสำหรับ คำว่า "แซ่บ" หรือ "แซบ" ที่คำไหนจะเป็นคำที่ถูกต้อง
วันฮาโลวีน กับ ตำนานฟักทอง Jack O’Lantern เทศกาลฮาโลวีนวนรอบกลับมาถึงอีกแล้ว และทุกครั้งที่นึกถึงฮาโลวีน เราก็ต้องนึกถึงตะเกียงฟักทองคู่กันเสมอ
80 คำศัพท์ในภาษาไทยที่มักเขียนผิด มีคนไทยจำนวนไม่น้อยต้องประสบกับปัญหาเรื่องคำศัพท์ในภาษาไทย ที่สุดแสนจะสะกดและเขียนให้ถูกยากเหลือเกิน
10 คำภาษาลาวที่เดาไม่ออก เดาออกก็ผิดไปไกล ภาษาลาวมีความใกล้เคียงกับภาษาไทยมาก จนบางครั้งแทบจะฟังออกแบบไม่ต้องแปลก็ยังได้ เพราะด้วยความที่เราเป็นบ้านใกล้เรือนเคียงกัน และภาษาลาวเองมีความคล้ายคลึงกับภาษาอีสานเป็นอย่างมาก ไม่แปลกที่เราจะพอเดาออก แล้วรู้มั้ยว่าคนลาวเองก็ฟังภาษาไทยรู้เรื่องบ้างอยู่เหมือนกันนะ แต่ก็นั่นแหละมันก็ยังมีอีกหลายคำที่พยายามเดายังไง ก็เดาไม่ออก มาลองดูกันเลย
ต้นกำเนิดความเป็นมาผัดกะเพรา เมื่อเอ่ยถึงอาหารไทยคงไม่มีคนไทยคนไหนไม่รู้จัก "ผัดกะเพรา" ซึ่งเป็นอาหารที่คนไทยนิยมรับประทานเป็นอันดับหนึ่งเลยก็ว่าได้แต่มีใครรู้หรือไม่ว่าผัดกะเพรานั้นมีมาได้อย่างไร
ชื่ออาหารที่ยืมมาจากคำภาษาจีน ภาษาไทยมีคำยืมมาจากภาษาต่างประเทศหลายภาษา เช่น ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาชวา ภาษาบาลี ภาษาละติน ภาษาสันสกฤต ภาษาอังกฤษ
คำภาษาไทยที่มีความหมายตรงกันข้าม เราได้หยิบยกคำที่มีความหมายตรงกันข้ามมาให้ผู้อ่านทุกท่านได้ศึกษาเพิ่มเติม อาจจะดูเหมือนเป็นเรื่องที่ง่ายใคร ๆ ก็รู้แต่บางคำบางคู่ก็อาจมีคนหลงลืมจำผิดจำถูก