มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
รวมคําคมการออมเงิน คำคมแก้จน ใกล้ปีใหม่กันแล้ว หลายคนกำลังวางแผน หรือตั้งใจจะทำอะไรใหม่ และที่ขาดไม่ได้คือเรื่องนี้เลย การออมเงิน ผมเดาถูกใช่มั้ย เพราะใครต่อใครก็อยากมีชีวิตที่ดีขึ้นกันหมดแหละ และหนึ่งในปัจจัยที่ทำให้ชีวิตเราดีขึ้น คือการมีเงินเก็บที่เยอะขึ้น ทั้งเผื่อใช้จ่ายในอนาคตและเหตุฉุกเฉินต่างๆ
สาเหตุการเกิดภาษา หลายคนอาจจะเคยสงสัยว่าภาษาไทยที่เราใช้สื่อสารกันในทุกวันนี้มีที่มาอย่างไร วันนี้เราจะมาหาคำตอบกันจากบทความนี้ มาดูกันว่าภาษาเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
คนโง่ได้ยศก็ไม่เกิดประโยชน์ ผู้มีปัญญาทรามได้ยศแล้ว ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน ย่อมปฏิบัติเพื่อความเบียดเบียนตน และคนอื่น
จังไร กับ จัญไร เมื่อวานเกิดเหตุการณ์โต้เถียงกันขึ้นในระหว่างการทำงาน เพราะมีน้องคนหนึ่งเล่าเรื่องสัปดลขึ้นมา ความบันเทิงเลยเกิดขึ้น ด้วยแต่ละคนต่างด่าว่า "จังไรจังเลย" แต่มีเสียงจากพี่คนนึงว่า "จัญไร" เลยโต้เถียงกันต่อว่าตกลง จังไร หรือ จัญไร เป็นคำที่ถูกต้อง
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง
รวมกริยา 3 ช่อง ที่มีช่องที่ 2 และที่ 3 เขียนเหมือนกัน กริยา 3 ช่อง คือ คำที่ใช้เพื่อบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา หรือใช้แสดงถึงเหตุการณ์ในช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ได้แก่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต
อักษรย่อหน่วยงานราชการของไทย วันนี้เราจึงได้รวบรวมอักษรย่อของหน่วยงานในประเทศไทยที่คาดว่าจะต้องได้เจอบ่อย ๆ มาให้ได้เรียนรู้ว่าชื่อเต็มจริง ๆ แล้วนั้นคืออะไรจะได้ไม่เกิดการเข้าใจผิดและใช้ได้อย่างถูกต้อง
สำนวนไทยพร้อมความหมาย พูดถึงสำนวนคนไทยเองก็ได้สร้างสรรค์สำนวนหรือวลีแทนประโยคที่ต้องการจะสื่อได้อย่างน่าสนใจและเกิดภาพให้เข้าใจ ถ้าอย่างนั้นลองมาดูกันเลยมีสำนวนใดบ้างที่อาจจะคุ้นหูคุ้นตา
คำในภาษาไทยที่อ่านยาก ระดับปราบเซียน! เราจึงได้รวบรวมคำในภาษาไทยที่คิดว่าทำให้หลายคนเกิดปัญหาอ่านไม่ออกหรือสะกดไม่ได้ ซึ่งก็มีหลายคำเลยทีเดียว มาดูกันเลยว่ามีคำไหนบ้าง
กริยาช่อง 2 (verb2) คืออะไร? กริยาช่อง 2 - Verb 2 เป็นหนึ่งในคำกริยาในภาษาอังกฤษที่ถูกแบ่งออกเป็น 3 ช่อง โดยที่กริยาช่อง 2 (verb v.2) นั้นจะใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต
คำในภาษาไทยที่อ่านได้สองแบบ มาทบทวนกันในเรื่องคำพ้องก่อนจะไปดูคำศัพท์เพื่อที่ว่าจะได้ไม่เกิดความสับสน และคำศัพท์ที่ว่าอ่านได้สองแบบแต่หมายถึงคำ ๆ เดียวกันนั้นจะมีคำใดบ้างไปดูกันเลย