คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ
คำไวพจน์ คืออะไร รวมคำพ้องความหมายที่ใช้บ่อย คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้อง" เช่น ครู และ อาจารย์, นักเรียน และ นักศึกษา
คำไวพจน์ พร้อมความหมายน่ารู้ คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้อง" เช่น ครู และ อาจารย์, นักเรียน และ นักศึกษา
คำในภาษาไทยที่อ่านได้สองแบบ มาทบทวนกันในเรื่องคำพ้องก่อนจะไปดูคำศัพท์เพื่อที่ว่าจะได้ไม่เกิดความสับสน และคำศัพท์ที่ว่าอ่านได้สองแบบแต่หมายถึงคำ ๆ เดียวกันนั้นจะมีคำใดบ้างไปดูกันเลย
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
คำไวพจน์ ดอกบัว | คำคล้าย ดอกบัว คำไวพจน์ ของ "ดอกบัว" คือ อุบล บงกช นิลุบล นิโลตบล ปทุม สัตตบรรณ ปัทมา บุษกร สัตตบงกช จงกล บุณฑริก ปทุมา อุทุมพร สาโรช
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
บัณฑิต ตรงกับคำไหนในภาษาบาลีและสันสกฤต คำไทยนั้นมีการยืมคำจากภาษาอื่นมาเยอะมาโดยเฉพาะภาษาบาลีและสันสกฤต และคำว่าบัณทิตก็เป็นคำยืมคำหนึ่ง