คำเป็น คำตาย คืออะไร คำเป็น คือ คำสระยาวที่ไม่มีตัวสะกดและคำในมาตรา; คำตาย คือ คำสระสั้นที่ไม่มีตัวสะกดพวกหนึ่ง; คำเป็นและคำตายยังมีประโยชน์ต่อการผันเสียงวรรณยุกต์ด้วย
การใช้สระ หากกล่าวถึงหลักภาษาสิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ สระ หลายคนรู้จักสระในภาษาไทยกันดี แต่รู้การใช้สระหรือไม่ว่าเป็นอย่างไร วันนี้เราจะมาหาคำตอบนั้น มาดูกันเลย
การใช้สระในภาษาไทย วันนี้ผมมีบทความเกี่ยวกับหลักภาษาไทยมาให้ผู้อ่านได้ลองศึกษากันโดยเราจะขอพูดถึงเรื่องของสระ นั้นก็คือการใช้สระ อย่างที่เคยกล่าวว่าภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์และมีความยากในตัว แม้กระทั่งคนไทยเองยังเกิดความสับสน ในเรื่องการใช้สระก็เช่นเดียวกันบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องง่ายและบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องที่ยาก ผมจึงรวบรวมและสรุปสาระสำคัญเรื่องการใช้สระในภาษาไทยไว้ดังนี้
การใช้สระไอ ใอ ไอย อัย ภาษาไทยนั้นถือได้ว่าเป็นภาษาที่มีความซับซ้อนภาษาหนึ่งในโลกและวันนี้เราจะมาพูดถึงความแตกต่างในการใช้สระที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันอย่างไอ ใอ ไอย อัย
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง
คำสนธิ คำสนธิในภาษาไทย หมายถึง คำที่มาจากภาษาบาลี – สันสกฤตมาเชื่อมต่อกัน ทำให้เสียงพยางค์หลังของคำแรกกลมกลืนกันกับเสียงพยางค์แรกของคำหลัง
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง เป็นอีกหนึ่งคำในภาษาไทยที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาเรื่อย ๆ หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า "สังเกตุ" คือ มีสระอุ ใต้ "ต. เต่า"
คำไวพจน์ ที่นิยมใช้ในการแต่งกลอน หลายคนอยากจะได้คำที่มีความหมายเหมือนกันเพื่อจะไปแต่งกลอนให้สละสลวยหรือจะแปลงให้เสียงลงวรรค/สัมผัสได้ถูกต้อง เลยจะขอให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้คำ ในการแต่งคำประพันธ์ คำกลอน
รวมคำทับศัพท์ที่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยอัป-อัพ การเขียนคำทับศัพท์ผิดเป็นเรื่องที่พบได้บ่อยครั้ง เนื่องจากเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเดิมของคำนั้นมากที่สุด ด้วยข้อจำกัดของเสียงและภาษาที่แตกต่างกันจึงทำให้ใครหลายคนสะกดหรือเขียนผิดไปจากหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
75 คำภาษาไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทยถือได้ว่าเป็นภาษาที่ยากมาก ๆ มีพยัญชนะ สระ ตัวสะกดมากมายและหลักภาษาเองก็มีความซับซ้อน จนบางทีไม่รู้ว่าคำ ๆ นี้ควรออกเสียงยังไง
ตำนานนางนพมาศที่เกี่ยวข้องกับวันลอยกระทง เมื่อถึงเดือนพฤศจิกายนของทุกปีทุกคนก็ต้องนึกถึงเทศกาลลอยกระทง ซึ่งเป็นประเพณีของชาวไทยที่มีมาอย่างยาวนาน เชื่อว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย วันลอยกระทงเป็นอีกหนึ่งวันสำคัญของคนไทยที่มีความเชื่อว่าเป็นการขอขมาและบูชาพระแม่คงคาที่เราได้ใช้น้ำมาตลอดทั้งปี