กริยา 3 ช่อง Irregular Verbs พร้อมคำอ่าน คำแปล กริยา 3 ช่อง หลายคำมีการเปลี่ยนรูปคำตามกาล (Tense) บางคำไม่เปลี่ยนเลยใช้รูปคำเดียวกันทุกช่อง เพียงแค่เติม -ed ต่อท้าย แต่บางครั้งก็ออกเสียงไม่เหมือนกันก็มี
อักษรย่อของอาชีพและตำแหน่งต่าง ๆ ในเรื่องของอักษรย่อนั้นมีหลายหัวข้อหลายหมวดที่คนไทยใช้ตัวอักษรย่อแทน เนื่องมาจากความสะดวก กระชับ และรวดเร็วในการเขียน หนึ่งในหมวดที่คนไทยนิยมใช้ตัวอักษรย่อแทนก็คืออาชีพ และตำแหน่งงานของบุคคล
อักษรย่อโรงเรียน เดิมคำว่าโรงเรียนใช้อักษรย่อว่า ร.ร. แต่หลังจากนั้นราชบัณฑิตยสภาได้เปลี่ยนให้มาใช้ รร. เหมือนกับคำว่าโรงแรม ดังนั้น ทั้งโรงเรียนและโรงแรมใช้อักษรย่อว่า รร. เหมือนกัน
คำสรรพนาม ในชีวิตประจำวันเราพูดคุยกันเป็นเรื่องธรรมดาแต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่าคำที่ใช้แทนตัวผู้พูดและตัวคู่สนทนานั้นเรียกว่าอะไรด้วยซ้ำ เอ.. หรือนั่นคือคำสรรพนาม วันนี้เราจะมาพูดถึงคำเหล่านี้นั้นก็คือ คำสรรพนาม
อักษรย่อกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ ของไทย ในงานเขียนหลายครั้งตัวอักษรย่อก็ถูกนำมาใช้อาจจะด้วยเหตุผลที่ต่างกันออกไป แน่นอนหนึ่งในหมวดที่นิยมใช้อักษรย่อแทนก็คือชื่อเต็มของกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเขียนหรือใช้งาน ซึ่งพบได้ตามข่าว เอกสาร และสื่ออื่น ๆ บางครั้งได้สร้างความสับสนให้แก่ผู้อ่านเพราะยากจะเข้าใจว่าตัวอักษรเหล่านั้นย่อมาจากอะไร
Pronoun (คำสรรพนาม) ในการสื่อสารไม่ว่าชาติไหนๆก็ต้องมีคำใช้เรียกแทนตัวเองและคู่สื่อสาร ในภาษาอังกฤษก็เช่นเดียวกันย่อมมีคำสรรพนามวันนี้เราจึงจะมาทำความรู้จักกับคำสรรพนามหรือ Pronoun นั่นเอง วันนี้เรามาดูกันเลยว่า pronoun นั้นมีคำอะไรบ้าง
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษที่คนไทยใช้บ่อย ว่าด้วยเรื่องของคำศัพท์ในภาษาไทยแม้จะมีมากมายแต่ก็ยังไม่ครอบคลุมได้ทุกคำ คนไทยจึงต้องหยิบยืมภาษาอื่นมาใช้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษที่มีคำที่คนไทยไม่สามารถหาคำมาแทนได้ จึงต้องเกิดการ “ทับศัพท์” ขึ้น
"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท หลายครั้งหลายคราที่จะใช้คำ "Update" ในแบบภาษาไทย แต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะเขียนยังไงดี เนื่องจากเข้าใจว่าต้องเขียนเป็น "อัปเดต" แต่พอเอาไปพิมพ์ลองใน Google ก็ดันแนะนำว่าต้องเป็น "อัพเดต" แทนเฉยเลย รวมถึงบทความต่าง ๆ ก็นิยมใช้ "อัพเดต" กันเสียด้วย
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง
กริยา 3 ช่อง ทั้งหมด พร้อมคำอ่าน คำกริยาในภาษาอังกฤษ จะต้องเปลี่ยนรูปของคำเพื่อบอกว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาใด จึงเป็นที่มาของคำว่า กริยา 3 ช่อง แยกเป็น ช่อง 1 ช่อง 2 และช่อง 3