มังสวิรัติกับการกินเจต่างกันอย่างไร เทศกาลกินเจในช่วงนี้ทำให้ผมนึกสงสัยว่า การกินเจ อาหารเจนั้นแตกต่างกับมังสวิรัติอย่างไร เพราะลองนึก ๆ ดูก็รู้สึกว่ามันเหมือนกันเลย แต่พอลองอ่านทำความเข้าใจดูก็พบว่ามันมีจุดที่แตกต่างกันอยู่ งั้นมาดูกันเลยดีกว่าว่าแตกต่างกันอย่างไร
สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย ต่างกันอย่างไร? หลายคนต่างสงสัยว่า สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย นั้นต่างกันอย่างไรหรือว่าเป็นอันเดียวกันเลย เพราะว่าแทบจะแยกความแตกต่างไม่ออกเลย ซึ่งพอพิจารณาดี ๆ แล้วก็พอจะดูออกว่าต่างกันอย่างไร เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
ระดับของภาษา ในชีวิตประจำวันเราต่างสื่อสารกันอย่างมากมายหลากหลายผู้คนซึ่งภาษาและลักษณะภาษาที่ใช้พูดกับแต่ละบุคคลก็แตกต่างกัน วันนี้ทุกคนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของภาษาว่าแต่ละระดับใช้อย่างไรและแตกต่างกันอย่างไรดังต่อไปนี้
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด
การใช้สระไอ ใอ ไอย อัย ภาษาไทยนั้นถือได้ว่าเป็นภาษาที่มีความซับซ้อนภาษาหนึ่งในโลกและวันนี้เราจะมาพูดถึงความแตกต่างในการใช้สระที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันอย่างไอ ใอ ไอย อัย
รวมคำทับศัพท์ที่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยอัป-อัพ การเขียนคำทับศัพท์ผิดเป็นเรื่องที่พบได้บ่อยครั้ง เนื่องจากเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเดิมของคำนั้นมากที่สุด ด้วยข้อจำกัดของเสียงและภาษาที่แตกต่างกันจึงทำให้ใครหลายคนสะกดหรือเขียนผิดไปจากหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน - แปลเพลง หลังจากเปิดตัวเพลงมาได้ไม่นาน ก้องหล้า ยอดจำปาหรือก้องห้วยไร่ก็โด่งดังเป็นพลุแตกด้วยบทเพลง ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน ที่คนร้องได้ทั่วบ้านทั่วเมือง แต่ด้วยเนื้อเพลงที่เป็นภาษาอีสานนั้นทำให้หลายคนยังสงสัยและไม่เข้าใจเนื้อหาทั้งหมด
ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
"รสชาติ" กับ "รสชาด" คำไหนที่ถูกต้อง รสชาติ กับ รสชาด เป็นคำที่เขียนผิดกันอยู่บ่อย ๆ ซึ่งจริง ๆ แล้ว รสชาติ เป็นคำที่ถูก โดยจะอ่านออกเสียงว่า รด-ชาด
50 สำนวนไทย ที่ได้ยินบ่อย ๆ สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ มาพบกันคราวนี้มีเรื่องเกี่ยวกับสำนวนไทยมาฝากให้ได้ศึกษากันครับ การนำถ้อยคำสำนวนไปใช้ให้ถูกต้องและเหมาะสมตรงกับวัตถุประสงค์ กาลเทศะและบุคคลก็ย่อมต้องรู้ความหมายของสำนวนนั้นด้วยถึงจะใช้ได้ถูกต้อง วันนี้เราจึงนำ 50 สำนวนที่ได้ยินบ่อย ๆ มาบอกความหมาย มาดูกันเลยมีสำนวนใดบ้าง
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
แปลเพลง Closer – The Chainsmokers ft. Halsey The Chainsmokers เจ้าของผลงานเพลงจังหวะเท่ ๆ เนื้อหาจี๊ด ๆ แต่ฟังสบาย ๆ ที่ได้ Halsey มา featuring ทำให้เพลงมีสเน่ห์ขึ้นมาอีก แน่นอนตอนนี้ติด top chart ของทุกเจ้าไปแล้วเรียบร้อย เรามาดูเนื้อหาของเพลงที่แปลเป็นไทยให้แล้วกันเลยดีกว่า