สำนวนไทยพร้อมความหมาย พูดถึงสำนวนคนไทยเองก็ได้สร้างสรรค์สำนวนหรือวลีแทนประโยคที่ต้องการจะสื่อได้อย่างน่าสนใจและเกิดภาพให้เข้าใจ ถ้าอย่างนั้นลองมาดูกันเลยมีสำนวนใดบ้างที่อาจจะคุ้นหูคุ้นตา
รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน สำนวน "รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม" หมายถึง เรียนรู้ไว้ไม่หนักเรี่ยวหนักแรงหรือเสียหายอะไร
เสียมราฐ ช่วงนี้มีกระแสท่องเที่ยวในประเทศเพื่อนบ้านกันเป็นอย่างมาก และอีกที่หนึ่งที่นึกถึงเลยคือ นครวัด ซึ่งตั้งอยู่ที่เมือง เสียมราฐ โดยที่คุณรู้หรือไม่ว่าเมืองนี้ถูกแปลงเสียงเพื่อให้รื่นหูคนไทยเพียงเท่านั้น แท้จริงแล้วเมืองนี้มีมีชื่อที่เป็นภาษาเขมร แล้วมาจากคำว่าอะไรไปดูกัน
50 สำนวนสุภาษิตไทย 50 สำนวนสุภาษิตไทย ที่คงจะคุ้นหูกันดีอยู่แล้ว แต่อยากให้ทำความเข้าใจถึงความหมายอันลึกซึ้ง และนำไปใช้ให้ถูกกับสถานการณ์
คำสมาส: คำสมาสแบบสมาส คืออะไร หากกล่าวถึงการสร้างคำในภาษาไทย แน่นอน! หลายคนคงคุ้นหูกับ “คำสมาส” มาอยู่บ้าง แต่จะบอกอะไร คำสมาสเนี่ยอยู่ในทุกช่วงชีวิตของเราเลยล่ะ
การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย
คำสุภาพที่ควรรู้ คู่กับคำราชาศัพท์ คำสุภาพที่ควรรู้ มีดังต่อไปนี้ เจ็ดโยชน์ = สองพันแปดร้อยเส้น, เจ็ดอย่าง = เจ็ดประการ, เถาตูดหมูตูดหมา = เถากระพับโหม - คำว่า " ใส่ " ที่ใช้ได้และใช้ไม่ได้
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดเครื่องประดับ คำราชาศัพท์ หมวดเครื่องประดับ ประกอบไปด้วย กำไลข้อพระบาท, ทองพระบาท ความหมาย กำไลข้อเท้า; ตุ้มพระกรรณ ความหมาย ต่างหู; ทองพระกร, ทองกร, พระวลัย ความหมาย กำไล; ทองพระกร, พระกำไล, พระวลัย ความหมาย กำไล
"สะเหล่อ" กับ "เสร่อ" คำไหนที่ถูกต้อง วันนี้เรามาลองทดสอบดูว่า ระหว่าง สะเหล่อ กับ เสร่อ คำไหนที่ถูกต้อง?
คำในภาษาไทยที่อ่านได้สองแบบ มาทบทวนกันในเรื่องคำพ้องก่อนจะไปดูคำศัพท์เพื่อที่ว่าจะได้ไม่เกิดความสับสน และคำศัพท์ที่ว่าอ่านได้สองแบบแต่หมายถึงคำ ๆ เดียวกันนั้นจะมีคำใดบ้างไปดูกันเลย
คำราชาศัพท์ หมวดเครือญาติ เรามาดูหมวดที่น่าจะได้ใช้บ่อย ๆ ดีกว่า มาดูในหมวดเครือญาติกันดังต่อไปนี้ พระปัยกา หมายถึง ปู่ทวด; พระปัยยิกา หมายถึง ย่าทวด; พระมาตามหัยกา,พระปัยกา หมายถึง ตาทวด; พระมาตามหัยยิกา,พระปัยยิกา หมายถึง ยายทวด
สัปดาห์ อ่านว่าอย่างไร เป็นอีกหนึ่งคำที่ได้ยินการอ่านหลายแบบ วันนี้เรามาดูกันว่า สัปดาห์ อ่านว่าอย่างไรถึงจะถูกต้อง