พุทธศาสนสุภาษิต หมวด พิเศษสำหรับบุคคลทั่วไป พุทธสุภาษิต หรือ พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดี ๆ ในพระพุทธศาสนา แต่ไม่ได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม แต่ก็ยังมีสุภาษิตคำอื่นที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาด้วย เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต หรือ พุทธสุภาษิต หรือ พระพุทธพจน์
อักษรย่อกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ ของไทย ในงานเขียนหลายครั้งตัวอักษรย่อก็ถูกนำมาใช้อาจจะด้วยเหตุผลที่ต่างกันออกไป แน่นอนหนึ่งในหมวดที่นิยมใช้อักษรย่อแทนก็คือชื่อเต็มของกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเขียนหรือใช้งาน ซึ่งพบได้ตามข่าว เอกสาร และสื่ออื่น ๆ บางครั้งได้สร้างความสับสนให้แก่ผู้อ่านเพราะยากจะเข้าใจว่าตัวอักษรเหล่านั้นย่อมาจากอะไร
กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
คำราชาศัพท์คืออะไร มีที่มาจากไหน ใช้อย่างไร การศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์ จำเป็นต้องรู้ความหมายของคำราชาศัพท์เสียก่อน จึงจะทำให้ผู้ศึกษาเข้าใจในเนื้อหาและจุดประสงค์ของคำราชาศัพท์ได้ถ่องแท้ แม้คนทั่วไปจะไม่ได้ใช้คำราชาศัพท์บ่อยนักแต่ก็เป็นเรื่องใกล้ตัวเราที่ต้องพบเจอคำราชาศัพท์อยู่ตลอด
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z หลักการจำกริยา 3 ช่องนั้นไม่ยาก เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้น ๆ ใช้บ่อย ๆ เดี๋ยวก็คุ้น
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2) หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
"คำเป็น" กับ "คำตาย" พร้อมตัวอย่าง หลักภาษาไทยมีคำและหลักภาษาต่าง ๆ มากมายซึ่งมีความยากและซับซ้อน และวันนี้เราก็จะมานำเสนอเรื่อง คำเป็น-คำตาย ว่าคำเหล่านี้คือคำอะไร ใช้อย่างไร มีความจำเป็นอย่างไร
เซ็งแซ่ ความหมายและประโยคสั้น ๆ เรามาดูความหมายของคำว่าเซ็งแซ่กันหน่อย และดูตัวอย่างประโยคเกี่ยวกับเซ็งแซ่ ต่อกันด้วย จะได้นำเอาไปใช้งานได้ถูกหลักและตรงความหมาย
คำสันธาน มาพบกันอีกครั้งกับบทความเรื่องที่เกี่ยวกับความรู้ในหลักภาษาไทยอีกเช่นเคย วันนี้เราจะหยิบยกเรื่อง คำสันธาน มาฝากผู้อ่านกัน
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z (ต่อ 2) หลักการจำ กริยา 3 ช่อง ง่ายมาก เพียงแค่ให้นึกถึง สูตรคูณคณิตศาสตร์ก็สามารถท่องได้ เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้นๆ ที่ใช้ หลังจากเรียนคำกริยา 3 ช่องแล้ว เราก็ควรไปเรียนเรื่อง Tense ต่อ จะได้เข้าใจและใช้งานได้ถูกต้อง
การใช้สระ หากกล่าวถึงหลักภาษาสิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ สระ หลายคนรู้จักสระในภาษาไทยกันดี แต่รู้การใช้สระหรือไม่ว่าเป็นอย่างไร วันนี้เราจะมาหาคำตอบนั้น มาดูกันเลย