คำสนธิ คำสนธิในภาษาไทย หมายถึง คำที่มาจากภาษาบาลี – สันสกฤตมาเชื่อมต่อกัน ทำให้เสียงพยางค์หลังของคำแรกกลมกลืนกันกับเสียงพยางค์แรกของคำหลัง
คำเป็น คำตาย คืออะไร คำเป็น คือ คำสระยาวที่ไม่มีตัวสะกดและคำในมาตรา; คำตาย คือ คำสระสั้นที่ไม่มีตัวสะกดพวกหนึ่ง; คำเป็นและคำตายยังมีประโยชน์ต่อการผันเสียงวรรณยุกต์ด้วย
คำไวพจน์ ที่นิยมใช้ในการแต่งกลอน หลายคนอยากจะได้คำที่มีความหมายเหมือนกันเพื่อจะไปแต่งกลอนให้สละสลวยหรือจะแปลงให้เสียงลงวรรค/สัมผัสได้ถูกต้อง เลยจะขอให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้คำ ในการแต่งคำประพันธ์ คำกลอน
รวมคำทับศัพท์ที่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยอัป-อัพ การเขียนคำทับศัพท์ผิดเป็นเรื่องที่พบได้บ่อยครั้ง เนื่องจากเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเดิมของคำนั้นมากที่สุด ด้วยข้อจำกัดของเสียงและภาษาที่แตกต่างกันจึงทำให้ใครหลายคนสะกดหรือเขียนผิดไปจากหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน - แปลเพลง หลังจากเปิดตัวเพลงมาได้ไม่นาน ก้องหล้า ยอดจำปาหรือก้องห้วยไร่ก็โด่งดังเป็นพลุแตกด้วยบทเพลง ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน ที่คนร้องได้ทั่วบ้านทั่วเมือง แต่ด้วยเนื้อเพลงที่เป็นภาษาอีสานนั้นทำให้หลายคนยังสงสัยและไม่เข้าใจเนื้อหาทั้งหมด
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
เสียมราฐ ช่วงนี้มีกระแสท่องเที่ยวในประเทศเพื่อนบ้านกันเป็นอย่างมาก และอีกที่หนึ่งที่นึกถึงเลยคือ นครวัด ซึ่งตั้งอยู่ที่เมือง เสียมราฐ โดยที่คุณรู้หรือไม่ว่าเมืองนี้ถูกแปลงเสียงเพื่อให้รื่นหูคนไทยเพียงเท่านั้น แท้จริงแล้วเมืองนี้มีมีชื่อที่เป็นภาษาเขมร แล้วมาจากคำว่าอะไรไปดูกัน
คำไทยโบราณที่ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน ในปัจจุบันศัพท์วัยรุ่นแปลก ๆ โผล่มาให้เห็นกันบ่อยทั้งจากการเพี้ยนเสียง แฝงความหมายอื่นไว้ในคำศัพท์นั้น ไม่ว่าจะเป็นคำว่าลำไย นก บ่องตง จุงเบย ฯลฯ วันนี้เราจึงจะหันมาดูคำศัพท์ภาษาไทยเก่าๆแปลกๆกันบ้างที่หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยินเลยด้วยซ้ำและไม่ค่อยมีคนใช้กันแล้วในปัจจุบัน เพื่อจะได้เพิ่มความรู้และฟื้นฟูความจำกัน มาดูว่าเรามีคำน่าสนใจไหนมาฝากกันบ้าง
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง