คำในภาษาไทยที่อ่านได้สองแบบ มาทบทวนกันในเรื่องคำพ้องก่อนจะไปดูคำศัพท์เพื่อที่ว่าจะได้ไม่เกิดความสับสน และคำศัพท์ที่ว่าอ่านได้สองแบบแต่หมายถึงคำ ๆ เดียวกันนั้นจะมีคำใดบ้างไปดูกันเลย
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึงอะไร พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึง พูดไปก็ไม่มีประโยชน์ สู้นิ่งไว้ดีกว่า
คำสมาส คำสมาส เป็นคำที่เกิดจากการรวมคำสองคำซึ่งต่างก็เป็นคำบาลีหรือสันสกฤตเข้าเป็นคำเดียวกัน โดยการนำมาเรียงต่อกัน ไม่ได้มีการดัดแปลงรูปอักษร มีการออกเสียง อะ อิ อุ ระหว่างคำ
คำที่อ่านควบกล้ำไม่แท้ ดังที่ทราบกันดีว่าในภาษาไทยจะมีคำควบกล้ำสองลักษณะ คือ คำควบกล้ำแท้ และคำควบกล้ำไม่แท้
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ออกเสียงคล้ายกัน สำหรับคนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (หรือแม้แต่คนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ก็ตาม) สิ่งที่เราเจอกันเสมอก็คือ การสับสนทางไวยากรณ์ หรือการใช้คำบางคำผิดหรือสับสน โดนเฉพาะคำที่ออกเสียงคล้ายๆ กัน
ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
คำสุภาพที่ควรรู้ คู่กับคำราชาศัพท์ คำสุภาพที่ควรรู้ มีดังต่อไปนี้ เจ็ดโยชน์ = สองพันแปดร้อยเส้น, เจ็ดอย่าง = เจ็ดประการ, เถาตูดหมูตูดหมา = เถากระพับโหม - คำว่า " ใส่ " ที่ใช้ได้และใช้ไม่ได้
คำศัพท์วันวาเลนไทน์ อัปเดต 2023 เข้าสู่เดือนที่สองของปีอย่างรวดเร็ว เผลอ ๆ แป๊บเดียวเดือนแห่งความรักก็มาถึงเสียแล้ว คนมีความรักคงเฝ้ารอคอยเดือนนี้อย่างแน่นอน ก่อนจะถึงวันวาเลนไทน์เราลองมาดูกันก่อนว่าในวันนี้มีคำศัพท์ที่น่าสนใจอะไรบ้าง จะได้รู้ความหมายหากมีโอกาสพบเห็นและได้นำไปใช้ มาดูกันเลย
ภาษาบาลี-สันกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ
มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
ปราชญ์ พึงรักษาศีล ปราชญ์ หมายถึง บุคคลผู้มีปัญญา รู้ว่าสิ่งไหนควรทำหรือไม่ควร รู้ว่าอะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป และละสิ่งที่เป็นบาป เจริญแต่สิ่งที่เป็นกุศล การรักษาศีลก็เป็นการทำบุญกุศล อย่างหนึ่งซึ่งมีอานิสงส์มาก ปราชญ์ท่านก็รู้จึงได้รักษาอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เพราะเมื่อรักษาศีลให้ดีให้เคร่งครัดแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวต่อโทษและภัยต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการป้องกันจากอบาย และเป็นหนทางที่จะยกตนขึ้นสู่การปฏิบัติธรรมชั้นสูง ๆ ขึ้นไปอีก จนกนะทั่งถึงพระนิพพาน