วิธีใช้ราชาศัพท์ ในบทความก่อนหน้าเรารู้แล้วว่าคำราชาศัพท์คืออะไร เพราะอะไรจึงมีคำราชาศัพท์ วันนี้เราจะมารู้จักหลักและวิธีการใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามแบบและกาลเทศะ เพื่อเป็นการไม่เสียเวลาเรามาเริ่มเรียนรู้วิธีการใช้คำราชาศัพท์กันเลย
กริยา 3 ช่อง Irregular Verb สรุป Irregular Verbs ที่ใช้บ่อยที่สุดในภาษาอังกฤษ และวิธีที่ง่ายที่สุดในการเรียนรู้ตาราง Irregular Verbs ที่ใช้งานบ่อย 100 คำกริยา
กริยา 3 ช่อง Regular Verb สรุป Regular Verbs ที่ใช้บ่อยที่สุดในภาษาอังกฤษ และวิธีที่ง่ายที่สุดในการเรียนรู้ตาราง Regular Verbs ที่ใช้งานบ่อย 100 คำกริยา พร้อมคำแปล
Silent letter (พยัญชนะไม่ออกเสียง) ในภาษาอังกฤษนั้นก็มีหลายคำเช่นกันที่เขียนหลายตัวเหลือเกิน แต่พออ่านออกเสียงแล้วกลับออกเสียงแค่บางตัว คล้ายๆ กับตัวการันต์ในภาษาไทยแต่ต่างตรงที่ว่าภาษาอังกฤษไม่ได้มีสัญลักษณ์กำหนดไว้ว่าตัวไหนจะต้องออกเสียงหรือไม่ออก มีวิธีเดียวในการสังเกตนั่นก็คือจำนั่นเอง วันนี้เราเลยจะพามาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงหรือที่เรียกว่า Silent letter
คำซ้ำ (Reduplication) พูดถึงเรื่องของคำซ้ำ หรือ reduplication ในภาษาต่าง ๆ ก็มีอยู่มากมาย รวมถึงในภาษาไทยเราด้วย ภาษาไทยเราเรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในภาษาที่มีความหลากหลายมากที่สุดภาษาหนึ่ง การสร้างคำต่าง ๆ ขึ้นมาจึงมีหลายวิธีในการสรรสร้างเพื่อให้ได้คำหรือความหมายใหม่ขึ้นมารวมถึงวิธีการซ้ำคำด้วย วันนี้เราจึงหยิบเรื่องคำซ้ำมาให้เรียนรู้กัน มาดูกันเลย
คำราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้ต่าง ๆ คำราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้ต่าง ๆ ประกอบด้วย หมวดเครื่องใช้ หมวดเครื่องใช้ภายในห้องอาหาร หมวดเครื่องใช้ภายในห้องอาบน้ำ หมวดเครื่องใช้ภายในห้องแต่งตัว หมวดเครื่องใช้ภายในห้องทำงาน
ประโยคที่เกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์ วันนี้ผมมีชุดคำศัพท์ ประโยคและวลีที่มีประโยชน์และใช้บ่อยในการโทรศัพท์มาให้เพื่อน ๆ ได้เรียนรู้กัน เพราะคิดว่าในชีวิตประจำวันเพื่อน ๆ คงมีบ้างแหละที่จะต้องใช้ภาษาอังกฤษในการสนทนาทางโทรศัพท์ โดยเฉพาะตอนที่ชาวต่างชาติโทรเข้ามา หรือโทรไปหาชาวต่างชาติรับสาย อย่ารอช้า ไปดูกันเลยว่ามีคำไหนน่าสนใจบ้าง
อักษรย่อโรงเรียน เดิมคำว่าโรงเรียนใช้อักษรย่อว่า ร.ร. แต่หลังจากนั้นราชบัณฑิตยสภาได้เปลี่ยนให้มาใช้ รร. เหมือนกับคำว่าโรงแรม ดังนั้น ทั้งโรงเรียนและโรงแรมใช้อักษรย่อว่า รร. เหมือนกัน
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง
ตารางกริยา 3 ช่อง ที่ใช้บ่อย ตารางกริยา 3 ช่อง ที่ใช้บ่อย ช่องที่ 1 Infinitive ช่องที่ 2 Past ช่องที่ 3 Past participle คำแปล awake awoke awoken ตื่น, be was, were been เป็น,อยู่,คือ
อักษรย่อกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ ของไทย ในงานเขียนหลายครั้งตัวอักษรย่อก็ถูกนำมาใช้อาจจะด้วยเหตุผลที่ต่างกันออกไป แน่นอนหนึ่งในหมวดที่นิยมใช้อักษรย่อแทนก็คือชื่อเต็มของกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเขียนหรือใช้งาน ซึ่งพบได้ตามข่าว เอกสาร และสื่ออื่น ๆ บางครั้งได้สร้างความสับสนให้แก่ผู้อ่านเพราะยากจะเข้าใจว่าตัวอักษรเหล่านั้นย่อมาจากอะไร
Present perfect กับการใช้ Already, Ever, Never และ Yet ในประโยคที่อยู่ใน tense Present Perfect มักจะมีคำกริยาวิเศษณ์ที่อยู่ระหว่างประโยคเพื่อให้ความหมายที่ชัดแจ้งขึ้น ได้แก่คำว่า Already, Yet, Ever และ Never ไปดูกันเลยว่าใช้ยังไง