มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
คำสมาส: คำสมาสแบบสมาส คืออะไร หากกล่าวถึงการสร้างคำในภาษาไทย แน่นอน! หลายคนคงคุ้นหูกับ “คำสมาส” มาอยู่บ้าง แต่จะบอกอะไร คำสมาสเนี่ยอยู่ในทุกช่วงชีวิตของเราเลยล่ะ
รวมกริยา 3 ช่อง ที่มีช่องที่ 2 และที่ 3 เขียนเหมือนกัน กริยา 3 ช่อง คือ คำที่ใช้เพื่อบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา หรือใช้แสดงถึงเหตุการณ์ในช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ได้แก่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต
คําอวยพรวันแม่ภาษาอังกฤษ รวมคำอวยพรวันแม่ซึ้ง ๆ ในวันแม่แห่งชาตินี้ หลายคนกำลังหาคำบอกรักแม่อยู่เป็นแน่ ผมจึงขอรวบรวมคำบอกรักแม่ซึ้ง ๆ เป็นภาษาอังกฤษให้สามารถนำไปใช้บอกรักแม่กัน
รวมคําคมการออมเงิน คำคมแก้จน ใกล้ปีใหม่กันแล้ว หลายคนกำลังวางแผน หรือตั้งใจจะทำอะไรใหม่ และที่ขาดไม่ได้คือเรื่องนี้เลย การออมเงิน ผมเดาถูกใช่มั้ย เพราะใครต่อใครก็อยากมีชีวิตที่ดีขึ้นกันหมดแหละ และหนึ่งในปัจจัยที่ทำให้ชีวิตเราดีขึ้น คือการมีเงินเก็บที่เยอะขึ้น ทั้งเผื่อใช้จ่ายในอนาคตและเหตุฉุกเฉินต่างๆ
คำบอกรักวันวาเลนไทน์ สวัสดีเดือนแห่งความรักครับ พอพูดถึงเดือนกุมภาพันธ์หลายคนก็ต้องนึกถึงเทศกาลแห่งความรักวันวาเลนไทน์ 14 กุมภาพันธ์นั่นเอง เทศกาลวันวาเลนไทน์เป็นเทศกาลของชาวตะวันตกแต่คนไทยเองก็ให้ความนิยมและมีการแสดงความรักต่าง ๆ ในวันนี้เช่นเดียวกัน
50 คำคมบอกรักเสี่ยวๆ วันวาเลนไทน์ใกล้เข้ามาทุกทีแล้ว หลายคนคงวางแผนจะทำอะไรแล้วบ้างในวันวาเลนไทน์นี้ แน่นอนถ้าพูดถึงวันวาเลนไทน์ก็ต้องนึกถึงประโยคบอกรักหวาน ๆ และวันนี้เราก็รวบรวมประโยคบอกรักเสี่ยว ๆ 50 ประโยคมาฝากกัน รับรองคนได้ฟังต้องมีเขินกันอย่างแน่นอน มาดูกันเลย
กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
30 คำกล่าวบอกลาภาษาอังกฤษ นอกจาก Good bye พวกเราชาวไทยมักจะชินกับการกล่าวคำอำลาภาษาอังกฤษที่มีคำว่า Bye อยู่ด้วย อาจจะเพราะด้วยความง่ายต่อการใช้ และไม่ต้องคิดอะไรมาก มันติดปากหน่ะแหละ
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด
กริยา 3 ช่อง ทั้งหมด พร้อมคำอ่าน คำกริยาในภาษาอังกฤษ จะต้องเปลี่ยนรูปของคำเพื่อบอกว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาใด จึงเป็นที่มาของคำว่า กริยา 3 ช่อง แยกเป็น ช่อง 1 ช่อง 2 และช่อง 3