คำในภาษาไทยที่อ่านได้สองแบบ มาทบทวนกันในเรื่องคำพ้องก่อนจะไปดูคำศัพท์เพื่อที่ว่าจะได้ไม่เกิดความสับสน และคำศัพท์ที่ว่าอ่านได้สองแบบแต่หมายถึงคำ ๆ เดียวกันนั้นจะมีคำใดบ้างไปดูกันเลย
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึงอะไร พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึง พูดไปก็ไม่มีประโยชน์ สู้นิ่งไว้ดีกว่า
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย (ฉบับพกพา) วันนี้เราจะมาแนะนำ สำนวนไทย สุภาษิตไทย และคำพังเพย (ฉบับพกพา ในมือถือ) ให้นำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ง่ายๆ
ปวช. ย่อมาจากอะไร มีสาขาอะไร และเรียนต่ออะไรบ้าง ปวช. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.3-ม.6 นั่นเอง สามารถทำการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้เหมือนม.6
คำสมาส คำสมาส เป็นคำที่เกิดจากการรวมคำสองคำซึ่งต่างก็เป็นคำบาลีหรือสันสกฤตเข้าเป็นคำเดียวกัน โดยการนำมาเรียงต่อกัน ไม่ได้มีการดัดแปลงรูปอักษร มีการออกเสียง อะ อิ อุ ระหว่างคำ
คำที่อ่านควบกล้ำไม่แท้ ดังที่ทราบกันดีว่าในภาษาไทยจะมีคำควบกล้ำสองลักษณะ คือ คำควบกล้ำแท้ และคำควบกล้ำไม่แท้
ภาษาอีสาน แอปพลิเคชันภาษาอีสาน โดยความร่วมมือระหว่าง kint studio เจ้าของ wordy guru ร่วมมือกับ esan108.com ผู้เป็นเจ้าของคลังความรู้และภูมิปัญญาอีสาน ข้อมูลที่กินที่เที่ยวครบครัน ได้จับมือกันพัฒนาคลังคำศัพท์ภาษาอีสานขึ้นมาให้สามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา เดี๋ยวมาดูกันว่าครบถ้วน และใช้งานง่ายขนาดไหน
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ออกเสียงคล้ายกัน สำหรับคนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (หรือแม้แต่คนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ก็ตาม) สิ่งที่เราเจอกันเสมอก็คือ การสับสนทางไวยากรณ์ หรือการใช้คำบางคำผิดหรือสับสน โดนเฉพาะคำที่ออกเสียงคล้ายๆ กัน
คำสุภาพที่ควรรู้ คู่กับคำราชาศัพท์ คำสุภาพที่ควรรู้ มีดังต่อไปนี้ เจ็ดโยชน์ = สองพันแปดร้อยเส้น, เจ็ดอย่าง = เจ็ดประการ, เถาตูดหมูตูดหมา = เถากระพับโหม - คำว่า " ใส่ " ที่ใช้ได้และใช้ไม่ได้
คำศัพท์วันวาเลนไทน์ อัปเดต 2023 เข้าสู่เดือนที่สองของปีอย่างรวดเร็ว เผลอ ๆ แป๊บเดียวเดือนแห่งความรักก็มาถึงเสียแล้ว คนมีความรักคงเฝ้ารอคอยเดือนนี้อย่างแน่นอน ก่อนจะถึงวันวาเลนไทน์เราลองมาดูกันก่อนว่าในวันนี้มีคำศัพท์ที่น่าสนใจอะไรบ้าง จะได้รู้ความหมายหากมีโอกาสพบเห็นและได้นำไปใช้ มาดูกันเลย
ภาษาบาลี-สันกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ