รวบรวม 20 สำนวนไทย รู้เอาไว้ ทันสมัยตลอดกาล จะกี่ยุคกี่สมัย ไม่ว่าจะเป็นหนุ่มสาว หรือผู้หลักผู้ใหญ่ก็นิยมใช้สำนวนไทยอยู่เรื่อย ๆ แบบว่าเป็นเจ้าบทเจ้ากลอนก็คงไม่ผิดนัก แม้จะพูดจาหรือสั่งสอนใคร ก็มักจะอ้างเอาสำนวน สุภาษิต หรือคำพังเพยที่พูดต่อ ๆ กันมาตั้งแต่ครั้งโบราณมาเปรียบเทียบเปรียบเปรยเสมอ ซึ่งคำเหล่านี้มักจะเป็นคำที่คล้องจองกัน ทำให้จดจำได้ง่ายและเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
คําพังเพย หมายถึง? คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นสำนวนที่พูดไว้กลาง ๆ เพื่อชวนให้คิด ถ้านำมาใช้ให้เหมาะกับเรื่องที่กำลังพูดกัน จะทำให้เข้าใจเรื่องที่พูดนั้นชัดเจนขึ้น
การใช้สระในภาษาไทย วันนี้ผมมีบทความเกี่ยวกับหลักภาษาไทยมาให้ผู้อ่านได้ลองศึกษากันโดยเราจะขอพูดถึงเรื่องของสระ นั้นก็คือการใช้สระ อย่างที่เคยกล่าวว่าภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์และมีความยากในตัว แม้กระทั่งคนไทยเองยังเกิดความสับสน ในเรื่องการใช้สระก็เช่นเดียวกันบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องง่ายและบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องที่ยาก ผมจึงรวบรวมและสรุปสาระสำคัญเรื่องการใช้สระในภาษาไทยไว้ดังนี้
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึงอะไร พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึง พูดไปก็ไม่มีประโยชน์ สู้นิ่งไว้ดีกว่า
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
"อนุญาต" "ขออนุญาต" กับ "อนุญาติ" "ขออนุญาติ" คำไหนนะที่ถูกต้อง มีเคล็ดลับในการจำไว้ง่าย ๆ ทำได้โดยท่องไว้เลยว่า อนุญาต หรือ ขออนุญาต นั้นไม่ใช่ "ญาติ" ไม่เกี่ยวกับ "ญาติ"
ความหมายคำว่า "เวจ" จากละครบุพเพสันนิวาส วินาทีนี้คงไม่มีใครไม่รู้จักละครเรื่องบุพเพสันนิวาสที่เป็นกระแสอย่างมากทั่วทั้งโซเชียล จะเห็นว่าคนแทบทุกวัยต่างพากันพูดถึงละครเรื่องบุพเพสันนิวาส แถมนำคำบางคำในละครที่ไม่ค่อยได้ยินแล้วในปัจจุบันมาพูดกันทั่วบ้านทั่วเมือง มีคำศัพท์คำหนึ่งที่หลายคนพูดติดปากกันมากนั่นคือคำว่า "เวจ" วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงคำนี้กันว่ามีความหมายว่าอย่างไรกันแน่
ภาษาทางการ หรือ ภาษาราชการ ในการสื่อสารของมนุษย์ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด สิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงในการสื่อสารนั้นก็คือมารยาทและความเหมาะสมที่ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการพูดหรือการเขียนก็ต้องดูความเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาไทย วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงดับภาษาที่เป็นทางการว่าควรพูดอย่างไร ควรใช้คำในรูปแบบไหน สถานการณ์ใดจึงจะเหมาะสม แล้ววันนี้เราจะได้รู้กัน
อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง หมายถึงอะไร อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง หมายถึง อย่าวางใจหรือไว้วางใจใครคนอื่นง่ายเกินไป จะเป็นเราที่เดือดร้อนในภายหลังได้
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
แจกกริยา 3 ช่อง ที่ใช้บ่อย ท่องจำง่าย พร้อมคำแปล กริยา 3 ช่อง ภาษาอังกฤษ ท่องจำง่ายๆ ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน เรียนรู้เรื่อยๆ พอคุ้นแล้วก็จะเห็นเองว่ามันจำได้ง่ายๆ ขนาดไหน เพราะที่ต้องจำจริงๆ มีเพียงไม่กี่คำ