ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
ลักษณะนาม หลายคนอาจจะเคยเข้าใจผิดและงงกับลักษณะนามของการเรียกสิ่งต่างๆ เรียกว่าอย่างไรกันแน่ วันนี้มาดูกันว่าคำนามเหล่านี้จะมีลักษณะนามเรียกว่าอย่างไร
อักษร ๓ หมู่ เมื่อกล่าวถึงอักษร ๓ หมู่ จะเข้าใจตรงกันว่า ไตรยางศ์ แปลว่า ๓ ส่วน เป็นชื่อเรียกการจำแนกอักษร ๓ หมู่ ได้แก่ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่ำ แต่ทั้งสามนี้มีลักษณะอย่างไร เราจะได้รู้ต่อไปในบทความนี้
กริยา 3 ช่อง Irregular Verbs พร้อมคำอ่าน คำแปล กริยา 3 ช่อง หลายคำมีการเปลี่ยนรูปคำตามกาล (Tense) บางคำไม่เปลี่ยนเลยใช้รูปคำเดียวกันทุกช่อง เพียงแค่เติม -ed ต่อท้าย แต่บางครั้งก็ออกเสียงไม่เหมือนกันก็มี
ระดับของภาษา ในชีวิตประจำวันเราต่างสื่อสารกันอย่างมากมายหลากหลายผู้คนซึ่งภาษาและลักษณะภาษาที่ใช้พูดกับแต่ละบุคคลก็แตกต่างกัน วันนี้ทุกคนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของภาษาว่าแต่ละระดับใช้อย่างไรและแตกต่างกันอย่างไรดังต่อไปนี้
คำควบกล้ำ หรือ อักษรควบ ภาษาไทยเป็นอีกหนึ่งภาษาที่มีการออกเสียงยากมาก ๆ และหนึ่งในนั้น การออกเสียงคำควบกล้ำก็เป็นอีกหนึ่งสาเหตุ วันนี้เราจึงได้นำเรื่องคำควบกล้ำมาฝากกันว่ามีลักษณะอย่างไร มีคำอะไรบ้างไปดูกัน
ทูลเกล้าฯ อ่านว่าอย่างไร วันนี้เราจะพาไปดูคำในภาษาไทยที่แปลกอีกหนึ่งคำ คือมีรูปคำที่ถูกย่อ แต่พออ่านแล้วต้องอ่านเต็ม ๆ คำ นั่นก็คือคำว่า ทูลเกล้าฯ
คำที่อ่านควบกล้ำไม่แท้ ดังที่ทราบกันดีว่าในภาษาไทยจะมีคำควบกล้ำสองลักษณะ คือ คำควบกล้ำแท้ และคำควบกล้ำไม่แท้
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ การทับศัพท์ คือ การถอดอักษรในภาษาเดิม และเขียนให้อยู่ในรูปภาษาไทยที่อ่านได้สะดวกและเข้าใจ ซึ่งจะมีข้อยกเว้นตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ได้
กริยา 3 ช่อง ที่เติม ed กริยาปกติ กริยาผันปกติ REGULAR VERB คือ ชุดคำกริยาภาษาอังกฤษที่เปลี่ยนรูปตาม tense แบบแค่เติม ed ได้ตามปกติ โดยที่ไม่ต้องเปลี่ยนคำใหม่
เศร้าโศก | โศกเศร้า อ่านว่าอย่างไร คำว่า เศร้าโศก และ โศกเศร้า เป็นคำในภาษาไทยที่มีรูปคำแบบมี ร.เรือ เป็นคำควบกล้ำ แล้วเราสงสัยกันไหมว่าต้องอ่านออกเสียงคำว่า เศร้าโศก และ โศกเศร้า อย่างไรถึงจะถูกต้อง
"ปรากฏ" กับ "ปรากฎ" คำไหนที่ถูกต้อง เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง อาจเพราะด้วยความสัปสนที่ลักษณะตัวอักษรคล้ายกันมาก ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ถึงจะเป็นคำที่เขียนถูกต้อง หมายเหตุ ใช้ ฏ ปฏัก