ต้นกำเนิดความเป็นมาผัดกะเพรา เมื่อเอ่ยถึงอาหารไทยคงไม่มีคนไทยคนไหนไม่รู้จัก "ผัดกะเพรา" ซึ่งเป็นอาหารที่คนไทยนิยมรับประทานเป็นอันดับหนึ่งเลยก็ว่าได้แต่มีใครรู้หรือไม่ว่าผัดกะเพรานั้นมีมาได้อย่างไร
เสียมราฐ ช่วงนี้มีกระแสท่องเที่ยวในประเทศเพื่อนบ้านกันเป็นอย่างมาก และอีกที่หนึ่งที่นึกถึงเลยคือ นครวัด ซึ่งตั้งอยู่ที่เมือง เสียมราฐ โดยที่คุณรู้หรือไม่ว่าเมืองนี้ถูกแปลงเสียงเพื่อให้รื่นหูคนไทยเพียงเท่านั้น แท้จริงแล้วเมืองนี้มีมีชื่อที่เป็นภาษาเขมร แล้วมาจากคำว่าอะไรไปดูกัน
กะเพรา & คำที่ขึ้นต้นด้วย กะ หากจะพูดถึงความสับสนงงงวยทางภาษาแน่นอนว่าภาษาไทยเราต้องติดอันดับอย่างแน่นอน เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่ยากและเยอะ อย่างคำศัพท์ในบทความนี้
รวมคำทับศัพท์ที่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยอัป-อัพ การเขียนคำทับศัพท์ผิดเป็นเรื่องที่พบได้บ่อยครั้ง เนื่องจากเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเดิมของคำนั้นมากที่สุด ด้วยข้อจำกัดของเสียงและภาษาที่แตกต่างกันจึงทำให้ใครหลายคนสะกดหรือเขียนผิดไปจากหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
คำควบกล้ำไม่แท้ 40 คำ คำควบไม่แท้ คือ คำควบที่ออกเสียงแต่พยัญชนะต้นตัวหน้าตัวเดียวบ้าง ออกเสียงกลายเป็นตัวอื่นไปบ้าง มี 2 ลักษณะ ไม่ออกเสียง /ร/ หรือ ออกเสียง /ซ/
ปดิวรัดา เมื่อวานเห็นโฆษณาในทีวีช่อง 3 HD มีละครเรื่องหนึ่งที่พยายามจะการยังไงก็อ่านไม่ออก เพราะด้วยการสะกดและการรูปแบบที่แปลกตา ตอนอ่านผ่าน ๆ อ่านได้ว่า ปะ ดิว รัด ดา แต่ก็ยังรู้สึกขัด ๆ ว่ามันไม่น่าจะใช่แบบนี้นะ เลยพยายามค้นหาจนได้คำอ่านที่ถูกต้องและความหมายมาด้วย ดังนี้
วิธีการใช้ let และ let’s ในภาษาอังกฤษ หนึ่งในบรรดาคำขึ้นต้นประโยค และเห็นบ่อยครั้งในบทสนทนา ก็จะมีคำว่า Let นี้แหละเป็นคำแรกที่นึกถึงเลย แต่ไม่ง่ายอย่างนั้นหน่ะสิ เพราะว่าดันมี 2 รูปแบบซะนี่ คือ Let กับ Let's แล้วแบบก็ชวนให้งงไม่น้อยว่ารูปไปจะใช้ตอนใดบ้าง วันนี้เรามาดูกันดีกว่าว่าหลักการใช้ Let มีอะไรบ้าง และเราจะเลือกใช้ได้ในกรณีใด
คำขวัญวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2567 และรวมทุกนายกที่ผ่านมา วันเด็กแห่งชาติ ของประเทศไทย ตรงกับวันเสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคมของทุกปี จะมีการให้ คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย เริ่มต้นจัดงานวันเด็กครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2498 โดยได้กำหนดให้วันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม เป็นวันเด็กแห่งชาติ
ภาษาบาลี-สันกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ
อนุญาต ที่ไม่ใช่ อนุญาติ คำในภาษาไทยอีกหนึ่งคำที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาตลอด หากมีโพลสำรวจก็คงหนีไม่พ้นอันดับต้น ๆ นั่นคือคำว่า อนุญาต ที่เขียนผิดโดยการเติม สระอิ ไปบน ต.เต่า กลายเป็นคำว่า อนุญาติ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เองก็พลาดกันบ่อยครั้งกับคำนี้