คำไวพจน์ คืออะไร รวมคำพ้องความหมายที่ใช้บ่อย คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้อง" เช่น ครู และ อาจารย์, นักเรียน และ นักศึกษา
คำไวพจน์ พร้อมความหมายน่ารู้ คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้อง" เช่น ครู และ อาจารย์, นักเรียน และ นักศึกษา
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ
คำในภาษาไทยที่อ่านได้สองแบบ มาทบทวนกันในเรื่องคำพ้องก่อนจะไปดูคำศัพท์เพื่อที่ว่าจะได้ไม่เกิดความสับสน และคำศัพท์ที่ว่าอ่านได้สองแบบแต่หมายถึงคำ ๆ เดียวกันนั้นจะมีคำใดบ้างไปดูกันเลย
อักษร ๓ หมู่ เมื่อกล่าวถึงอักษร ๓ หมู่ จะเข้าใจตรงกันว่า ไตรยางศ์ แปลว่า ๓ ส่วน เป็นชื่อเรียกการจำแนกอักษร ๓ หมู่ ได้แก่ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่ำ แต่ทั้งสามนี้มีลักษณะอย่างไร เราจะได้รู้ต่อไปในบทความนี้
การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ ในภาษาไทยหรือแม้กระทั่งภาษาอื่น ๆ ต่างก็มีเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการเขียนเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน หรือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่จะใช้ให้เป็นแบบแผนเดียวกัน การใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ในภาษาไทยมีหลักการใช้ สรุปได้ดังนี้