ประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาถึงเรื่องสาเหตุที่ต้องมีคำราชาศัพท์นั้นมีที่มาอย่างไร วันนี้เรามาอธิบายให้ฟังดีกว่า และจะอธิบายให้เห็นถึงประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ให้ฟังกันด้วย
สาเหตุที่มีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาถึงเรื่องสาเหตุที่ต้องมีคำราชาศัพท์นั้นมีที่มาอย่างไร วันนี้เรามาอธิบายให้ฟังดีกว่า และจะอธิบายให้เห็นถึงประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ให้ฟังกันด้วย
หลักการเติม ed หลังคำกริยา สำหรับ Regular Verbs ในคำกริยาช่อง 2 และช่อง 3 จากวันก่อนที่ได้อธิบายเรื่อง กริยา 3 ช่อง และเห็นประเภทของคำกริยา 3 ช่องไปแล้ว นั่นคือมี Regular Verbs (กริยาผันปกติ - เติม ed) และ Irregular Verbs (กริยาผันไม่ปกติ) เดี๋ยววันนี้เราจะมาดูหลักการเติม ed ใน irregular verbs กัน และนี่สำคัญเพราะออกข้อสอบกันอยู่เรื่อยๆ จ้า
การใช้ This – That / These – Those วันนี้เราจะมาเรียนรู้กันเรื่องง่ายๆที่อาจมีหลายคนสับสนเกี่ยวกับการใช้ This – That / These – Those 4 คำเหล่านี้ เรื่องนี้ถือเป็นเรื่องที่ง่ายมากๆแต่ก็สร้างความสับสนให้บางคนไม่น้อย วันนี้เราจึงอยากหยิบเรื่องง่ายๆนี้มาอธิบายให้แจ่มแจ้งกันไปเลยว่า4คำนี้ใช้ต่างกันอย่างไร มาดูกันเลย
ความหมายของคำว่า "ออเจ้า" มองไปทางไหนก็เห็นแต่คนพูดถึงกระแสความดังของละครบุพเพสันนิวาส นาทีนี้คงต้องยกให้ละครเรื่องนี้จริงๆที่ทำให้สถานที่ท่องเที่ยวและคำเก่าในสมัยโบราณโดยเฉพาะคำเรียกคนอื่นอย่างคำว่า’’ออเจ้า’’เป็นกระแสขึ้นมาอย่างน่าประหลาดใจ ถ้าจะไม่พูดถึงความหมายของคำนี้ก็เห็นจะไม่ได้แล้ววันนี้เราจึงจะมาอธิบายถึงคำว่าออเจ้าว่ามีความหมายว่าอย่างไร
ระดับภาษาและลักษณะการใช้ การใช้ภาษาไทยจะมีการใช้ตามระดับของภาษา ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่มีความสำคัญ เนื่องจากระดับของภาษาไทยมีความแตกต่างกันหลายระดับ โดยจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สงสารและผู้รับสาร โอกาส และกาลเทศะ เพื่อให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล จึงควรคำนึงถึงระดับของภาษา ซึ่งมีการแบ่งระดับภาษาไว้หลากหลายแบบ ในวันนี้จะขออธิบายการแบ่งระดับของภาษาไทยเป็น2ระดับหลักและระดับย่อยใน2ระดับนั้น ดังนี้
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
คำไวพจน์ ดอกบัว | คำคล้าย ดอกบัว คำไวพจน์ ของ "ดอกบัว" คือ อุบล บงกช นิลุบล นิโลตบล ปทุม สัตตบรรณ ปัทมา บุษกร สัตตบงกช จงกล บุณฑริก ปทุมา อุทุมพร สาโรช
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
คำไวพจน์ คืออะไร รวมคำพ้องความหมายที่ใช้บ่อย คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้อง" เช่น ครู และ อาจารย์, นักเรียน และ นักศึกษา