เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
ลักษณะนาม หลายคนอาจจะเคยเข้าใจผิดและงงกับลักษณะนามของการเรียกสิ่งต่างๆ เรียกว่าอย่างไรกันแน่ วันนี้มาดูกันว่าคำนามเหล่านี้จะมีลักษณะนามเรียกว่าอย่างไร
หลักการใช้ a, an, the คำนำหน้าคำนามเพื่อคุณสมบัติมีหลายคำ แต่สงสัยใช่มั้ยหล่ะว่าคำไหนใช้ตอนไหน เมื่อไหร่ และยังไง เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
Adjective คำคุณศัพท์ ในภาษาอังกฤษไม่ได้มีเพียงคำนามคำกิริยาเท่านั้นยังมีคำชนิดอื่นที่ทำหน้าที่เพิ่มเติมคำเหล่านี้ ในหัวข้อนี้เราจะมาพูดถึงเรื่องของ คำคุณศัพท์ (Adjective) ซึ่งตัว Adjective เนี่ย มีหน้าที่ในการขยายคำนาม (Noun) หรือ สรรพนาม (Pronoun) เพื่อให้รายละเอียดให้เห็นภาพชัดเจนขึ้นครับ
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ ราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ - คำนามที่เป็นชื่อสิ่งของสำคัญที่ควรยกย่อง มีคำเติมหน้า ได้แก่ พระบรมมหาราช, พระบรมมหา, พระบรมราช, พระบรม, พระอัคราช, พระอัคร และพระมหา
สุภาษิตสอนหญิง - สุนทรภู่ [จริงหรือ?] บทประพันธ์เรื่อง "สุภาษิตสอนหญิง" หรือ "สุภาษิตสอนสตรี" แต่งด้วยกลอนสุภาพ จำนวนทั้งหมด ๒๐๑ บท มีนามผู้แต่งว่า "ภู่" ทำให้เข้าใจว่า สุนทรภู่เป็นผู้แต่ง แต่ปัจจุบันมีนักวิชาการบางกลุ่มได้ศึกษาและตั้งข้อสังเกตว่า สุนทรภู่ไม่ใช่ผู้แต่งสุภาษิตสอนหญิง เพียงแต่ผู้แต่งชื่อ "ภู่"
คำสมาส: คำสมาสแบบคำสนธิ คืออะไร ครั้งก่อนเราได้ทราบกันแล้วว่า “คำสนธิ” จริง ๆ แล้วไม่มี เพราะสนธิเป็นวิธีการเชื่อมเสียงเท่านั้น เราจะเรียกว่าคำสมาสเป็นหลักใหญ่เท่านั้น สมาส เป็นวิธีการสร้างคำในภาษาบาลี สันสกฤต (เท่านั้น) ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกัน
คำไวพจน์ ดอกบัว | คำคล้าย ดอกบัว คำไวพจน์ ของ "ดอกบัว" คือ อุบล บงกช นิลุบล นิโลตบล ปทุม สัตตบรรณ ปัทมา บุษกร สัตตบงกช จงกล บุณฑริก ปทุมา อุทุมพร สาโรช
คำไวพจน์ คืออะไร รวมคำพ้องความหมายที่ใช้บ่อย คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้อง" เช่น ครู และ อาจารย์, นักเรียน และ นักศึกษา
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ